รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ : 0700-0793

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 90

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 96.8

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
97.41
0
0 / 0
4
96.80
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างทอดแบบสอบให้กับผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้สำนักการแพทย์ได้ทำการสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเพื่อนำมาปรับปรุงการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุต่อไป โดยมีผลความพึงพอใจของผู้สูงอายุ ดังนี้ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 384 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 384 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้สำนักการแพทย์ได้ทำการสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเพื่อนำมาปรับปรุงการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุต่อไป โดยมีผลความพึงพอใจของผู้สูงอายุ ดังนี้ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 849 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 827 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.41

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้มีการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ มีการสำรวจความพึงพอใจต่อการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุ เพื่อนำผลสำรวจของความพึงพอใจและข้อเสนอแนะมาพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยผลการสำรวจ มีดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 853 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 887 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 96.17 2. โรงพยาบาลตากสิน - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 381 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 382 - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 99.74 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 80 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 80 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 330 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 330 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 100 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 405 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 409 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 99.02 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 199 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 230 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 86.52 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 202 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 213 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 94.84 8. โรงพยาบาลสิรินธร - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 467 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 479 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 97.49 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 46 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 51 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 90.2 สรุปความพึงพอใจของของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป 2,963 ราย จากจำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 3,061 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.80

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ความพึงพอใจของของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้สูงอายุที่มารับบริการรักษาจากคลินิกผู้สูงอายุมีความพึงพอใจระดับมาก – มากที่สุด ตามแบบประเมินความพึงพอใจการใช้บริการของผู้ป่วยนอก

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไปหารด้วย จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด คูณด้วย 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด%
:๓.๑.๓.๑ พัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง