รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จในการก่อสร้างพื้นที่เพื่อพัฒนาฟื้นฟูให้เป็นแหล่งรองรับน้ำฝนและน้ำหลากหรือพื้นที่ชะลอน้ำ (แก้มลิง) (ผลผลิต) (สพน.) : 1100-0800

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 88.3

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
60.00
100
100 / 100
2
66.50
100
100 / 100
3
81.91
100
100 / 100
4
88.30
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โครงการก่อสร้างแก้มลิงเบญจกิติ อยู่ระหว่างก่อสร้างสถานีสูบน้ำ เตรียมงานตอกเสาเข็มและวางท่อขนส่งน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างก่อสร้างสถานีสูบน้ำ -อยู่ระหว่างตอกเสาเข็ม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-อยู่ระหว่างตอกเสาเข็ม -ติดตั้งแผงกันดิน บน - ล่าง -ขุดลอกพร้อมขนย้าย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-อยู่ระหว่างตอกเสาเข็ม -ติดตั้งแผงกันดิน บน - ล่าง -ขุดลอกพร้อมขนย้าย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การก่อสร้างพื้นที่ (แก้มลิง) หมายถึง การก่อสร้างพื้นที่ลุ่ม บึง สระเป็นที่รองรับน้ำและมีระบบต่อเชื่อมกับระบบระบายน้ำหลัก สามารถรองรับน้ำฝนส่วนเกินจากระบบระบายน้ำสาธารณะให้ไหลเข้ามาเก็บกักไว้เป็นการชั่วคราวได้

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจากจำนวนพื้นที่ชะลอน้ำ (แก้มลิง) ที่สามารถก่อสร้างเพื่อพัฒนาฟื้นฟูให้เป็นแหล่งรองรับน้ำฝนและน้ำหลาก แล้วเสร็จสามารถบริหารจัดการน้ำได้ในปี พ.ศ. 2563 ผลการดำเนินงานระยะสิ้นปีงบประมาณ จำนวน 2 แห่ง

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ตามหลักเกณฑ์

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง