รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

12.2 ร้อยละของโครงการ/งานที่ได้รับการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ : 1700-0868

ค่าเป้าหมาย รอยละ : 60

ผลงานที่ทำได้ รอยละ : 85.85

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(รอยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00
100
100 / 100
2
10.00
100
100 / 100
3
20.00
0
0 / 0
4
85.85
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

หาตัวผู้รับจ้าง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการโครงการที่สำคัญ เพื่อประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการโครงการที่สำคัญ เพื่อประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ขณะนี้แล้วเสร็จจำนวน 2 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ขณะนี้โครงการจ้างที่ปรึกษาประจำเพื่อสำรวจออกแบบศึกษารายละเอียดเบื้องต้น วิเคราะห์และประเมินผลสำหรับการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาจราจรในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการตรวจรับงวดที่ 8 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2563 (ระยะเวลา 12 เดือน สิ้นสุดสัญญาวันที่ 1 มกราคม 2564) และได้ประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการ/งานที่ดำเนินการ ระหว่างวันที่ 2 มกราคม 2563 - 30 สิงหาคม 2563 มาคำนวณหาร้อยละของโครงการ/งานที่ได้รับการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ค่าเป้าหมาย คือ ร้อยละ 60 ผลงานที่ทำได้ คือ 85.848

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการ/งานที่ดำเนินการ โดยใช้หลักการวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ (Cost Benefit Analysis) เพื่อแสดงถึงความคุ้มค่าและผลประโยชน์ที่สำนักการจราจรและขนส่งได้รับ โดยเปรียบเทียบจากการประเมินต้นทุน (Costs) ทั้งต้นทุนทางตรง และต้นทุนทางอ้อม และประเมินผลประโยชน์ (Benefits) ทั้งทางตรง และผลประโยชน์ทางอ้อม

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนโครงการ/งานที่ดำเนินการ ประเมินความคุ้มค่า × ๑๐๐ จำนวนงานทั้งหมดที่ได้รับมอบหมาย

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๓ - ระบบขนส่งมวลชนทั่วถึง สะดวกประหยัด การจราจรคล่องตัวและมีทางเลือก
:๒.๓.๑ ประชาชนเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะ มีทางเลือกในการเดินทางไม่ต้องพึ่งพารถส่วนบุคคล%
:๒.๓.๑.๑ ขยายระบบขนส่งมวลชนให้ครอบคลุมพื้นที

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง