ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1. สำรวจพื้นที่เสี่ยงภัย/จัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงในพื้นที่เขต จำนวน 1 จุด ได้แก่ สวนเเฉลิมพระเกียรติ ร 9 มีนบุรี และได้สำรวจเพิ่มเติมอีก 3 จุด ประกอบด้วย 1. ปากซอยรามอินทรา 117 2. ปากซอยเสรีไทย 60 3. หน้าโรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน 2. จัดทำโครงการ/ขออุมัติโครงการ/จัดทำคำสั่งมอบหมายหน้าที่ปฏิบัติงานตามโครงการฯ 3. ติดตั้งตู้เขียว/ทำสมุดลงลายมือชื่อเจ้าหน้าที่และลงรายงานเหตุการณ์ขณะตรวจประจำจุดตรวจฯ 4. จัดเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และรายงานสถานการณ์ลงในสมุดตรวจประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2562 เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 5. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 6. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 7. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 8. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 9. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 10. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 11. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน
1. จัดเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และรายงานสถานการณ์ลงในสมุดตรวจประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเดือน มกราคม - มีนาคม 2563 เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน
1. จัดเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และรายงานสถานการณ์ลงในสมุดตรวจประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเดือน เมษายน - มิถุนายน 2563 เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน
1. จัดเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และรายงานสถานการณ์ลงในสมุดตรวจประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเดือน กรกฎาคม - กันยายน 2563 เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน
1. พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรม กับประชาชน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยที่เป็นเป้าหมายในการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นั้น ได้นำรายละเอียดพื้นที่เสี่ยงภัยและวิธีการแก้ไขหรือลดปัจจัยเสี่ยงภัยมาจากบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2562 ซึ่งเกิดจากการสำรวจและรวบรวมข้อมูลของคณะทำงานโครงการสำรวจและจัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2562 2. เงื่อนไข (ปัจจัย) ความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง เหตุ/ช่องทาง/สิ่งต่าง ๆ ที่อาจทำให้เกิดเหตุอาชญากรรม หรือก่อเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งได้ตามสภาพพื้นที่นั้น 3. การลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับ แก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่ เช่น การติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม การทำความสะอาด ฯลฯ รวมทั้งการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่ โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตราเพื่อเป็นการป้องปรามการก่อเหตุอาชญากรรมหรือเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยตามแต่ละสภาพพื้นที่นั้นๆ
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 โดยแบ่งการให้คะแนน (ร้อยละ) ออกเป็น 3 ข้อ ได้แก่ 2.1 การดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนคะแนน (ร้อยละ) 60 คะแนน คิดจาก y= ((x × 60))/n y = ร้อยละของจำนวนรายการที่ได้ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยสำเร็จ x = จำนวนรายการที่ได้ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยสำเร็จ n= จำนวนรายการที่ต้องดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อม 2.2 การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนคะแนน (ร้อยละ) 20 คะแนน คิดจาก y= ((x × 20))/n y = ร้อยละของผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยที่ดำเนินการได้ x =ผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยที่ดำเนินการได้ n = เป้าหมายการดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราตามแผน 2.3 การรายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน จำนวนคะแนน (ร้อยละ) 20 คะแนน คิดจาก การรายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัยที่สำนักงานเขตส่งให้สำนักเทศกิจ
มีการรายงานผลการดำเนินการให้ผู้ผู้อำนวยการเขต และผู้อำนวยการสำนักเทศกิจทราบทุกเดือน
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |