รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

มิติที่ 3 (3.2) ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) รักษารอบ : 5018-0816

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00
100
100 / 100
2
35.00
100
100 / 100
3
54.61
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนต.ค. - ธ.ค. 63 - อนุมัติโครงการ - อยู่ระหว่างจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน ความก้าวหน้าอยู่ที่ 15%

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาส 2 1. ผลิตน้ำหมักชีวะภาพจากการคัดแยกขยะจากตลาด 4 ตลาด ขวดละ 500 มิลลิลิตร จำนวน 2000 ขวด/เดือน ได้จำนวน 2000 ขวด คิดเป็น 14.29 % 2. ผู้ค้าในตลาดไม่จ่ายถุงพลาสติก หูหิ้ว และ กล่องโฟมในตลาด 4 ตลาด ในวันที่ 1 และ 16 ของทุกเดือนๆ จำนวน 12 ราย คิดเป็น 27.27% 3. ตลาดเข้าร่วมโครงการตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยระดับทอง จำนวน 4 ตลาด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ไตรมาส 3 -1. ผลิตน้ำหมักชีวะภาพจากการคัดแยกขยะจากตลาด 4 ตลาด ขวดละ 500 มิลลิลิตร จำนวน 2,000 ขวด/เดือน ได้จำนวน 10,000 ขวด คิดเป็น 71.43 % 2. ผู้ค้าในตลาดไม่จ่ายถุงพลาสติก หูหิ้ว และ กล่องโฟมในตลาด 4 ตลาด ในวันที่ 1 และ 16 ของทุกเดือนๆ จำนวน 34 ราย คิดเป็น 77.27% 3. ตลาดเข้าร่วมโครงการตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยระดับทอง จำนวน 4 ตลาด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาส 4 - ผลิตน้ำหมักชีวะภาพจากการคัดแยกขยะจากตลาด 4 ตลาด ขวดละ 500 มิลลิลิตร จำนวน 2,000 ขวด/เดือน ได้จำนวน 14,000 ขวด คิดเป็น 100 % 2. ผู้ค้าในตลาดไม่จ่ายถุงพลาสติก หูหิ้ว และ กล่องโฟมในตลาด 4 ตลาด ในวันที่ 1 และ 16 ของทุกเดือนๆ จำนวน 38 ราย คิดเป็น 100% 3. ตลาดเข้าร่วมโครงการตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยระดับทอง จำนวน 4 ตลาด คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การรักษารอบหรือคงไว้หรือพัฒนาโครงการให้บรการที่ดีที่สุด (Best Service) ที่หน่วยงานนำเสนอเพื่อขอรับการประเมินในปีงบประมาณที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2562) เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประโยชน์ต่อผู้รับบริการอย่างยั่งยืน โดยหน่วยงานต้องคัดเลือกโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่เคยนำเสนอในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2562 ที่มีความโดดเด่นและสำคัญอย่างน้อย 1 โครงการเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบการให้บริการที่ดีที่สุดของกรุงเทพมหานครพิจารณา และสำนักงาน ก.ก. จะตรวจติดตามผลการดำเนินการโครงการดังกล่าวในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ว่าหน่วยงานยังสามารถรักษามาตรฐานการให้บริการหรือมีการพัฒนาโครงการให้บริการอย่างต่อเนื่องหรือไม่ โดยหน่วยงานต้องดำเนินการให้ได้ผลตามเป้าหมายของตัวชี้วัดโครงการที่คณะกรรมการพัฒนระบบการให้บริการที่ดีที่สุดของกรุงเทพมหานครกำหนด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. จำนวนน้ำหมักชีวภาพที่เกิดจากขยะแปรรูปประเภทผักและผลไม้จากตลาดทั้ง 4 แห่งไม่น้อยกว่า 2,000 ขวดต่อเดือน 2. ร้อยละ 100 ของจำนวนตลาดที่เข้าร่วมโครงการมีผลการประเมินเกณฑ์ตลาดสะอาดมาตรฐานอาหารปลอดภัยในระดับทอง 3. ร้อยละ 100 ของผู้ค้าในตลาดไม่มีการแจกจ่ายถุงพลาสติกและกล่องโฟมในตลาดทั้ง 4 ตลาดในวันที่ 1 และ 16 ของเดือน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ตลาดสดเอกชน 4 แห่ง ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ ได้แก่ ตลาดท่าพระ ตลาดท่าพระรุ่งเรือง ตลาดศักดิ์เจริญและตลาดโพธิ์สามต้น

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจ
:๓.๒.๑ ผู้ที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจนอกระบบและแรงงานนอกระบบเข้าถึงสวัสดิการและแหล่งเงินทุนอย่าง%
:๓.๒.๑.๑ แรงงานนอกระบบทราบสิทธิทางสวัสดิการสังคมและแหล่งเงินก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง