ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
รายละเอียดผลการดำเนินการ พื้นที่เสี่ยงภัยเป็นพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายมีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรมกับประชาชน มีการสำรวจและจัดทำบัญชีใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ให้เหมาะสมกับปัจจุบัน จำนวน 7 จุด และขอรายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัย มีรายละเอียดดังนี้คือ 1. รายงานตามแบบ 1 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย เช่น ทำความสะอาดตัดต้นไม้ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 7 ครั้ง เดือนพฤศจิกายน จำนวน 7 ครั้ง เดือนธันวาคม จำนวน 7 ครั้ง 2. รายงานตามแบบ 2 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ไฟฟ้าส่องสว่าง เดือนตุลาคม – เดือนธันวาคม 2563 ไม่สามารถดำเนินการได้ ทั้ง 7 จุด เนื่องจากมีไฟฟ้าส่องเสว่างติดตั้งไว้เพียงพออยู่แล้ว, ติดตั้ง CCTV ไว้เพียงพอ, เป็นพื้นที่เอกชน 3. รายงานตามแบบ 3 ได้ทำการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม มีการติดตั้งป้ายฯ เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2563 จำนวน 7 จุดต่อเดือน 4. รายงานตามแบบ 4 ตรวจการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมฯ เดือนตุลาคม 2563 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) รวม 651 ครั้ง เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (30 วัน) รวม 630 ครั้ง เดือนธันวาคม 2563 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) รวม 651 ครั้ง 5. รายงานตามแบบ 5 การตรวจประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) จำนวนครั้งการตรวจ ผลการดำเนินการ ประจำเดือนตุลาคม 2563 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (31 วัน) รวม 217 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด ผลการดำเนินการ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (30 วัน) รวม 210 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด ผลการดำเนินการ ประจำเดือนธันวาคม 2563 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (31 วัน) รวม 217 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด 6. รายงานตามแบบ 6 สถิติการเกิดคดีอาชญากรรมบริเวณพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกทม.จำนวน 7 จุดแต่อย่างใด ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2563 ผลการดำเนินการไม่พบว่ามีคดีเกิดขึ้นในพื้นที่ของสถานีตำรวจนครบาล 4 แห่ง (ประเวศ, บางนา, อุดมสุขและพระโขนง) 2.จำนวนเส้นทางให้บริการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ เป้าหมาย 3 เส้นทาง ได้ดำเนินการจัดเจ้าหน้าที่ดำเนินการตามโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ สรุปผลการปฏิบัติงาน 1. ผลการปฏิบัติงานประจำเดือนตุลาคม 2563 มีประชาชนใช้บริการ จำนวน 2 ราย เหตุการณ์ทั่วไปปกติ 2. ผลการปฏิบัติงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2563 มีประชาชนใช้บริการ จำนวน 2 ราย เหตุการณ์ทั่วไปปกติ 3. ผลการปฏิบัติงานประจำเดือนธันวาคม 2563 มีประชาชนใช้บริการ จำนวน 1 ราย เหตุการณ์ทั่วไปปกติ 3. จำนวนครั้งในการออกปฏิบัติหน้าที่เทศกิจ เป้าหมาย เฉลี่ย 2 ครั้ง/วัน/จุด (วันทำการ) ได้ดำเนินการจัดเจ้าหน้าที่ดำเนินการตามโครงการได้รับมอบหมายตามคำสั่งฝ่ายเทศกิจ ที่ 18/2563 ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2563 โดยการจัดเจ้าหน้าที่อาสาจราจรหรือเทศกิจจราจรที่ผ่านการฝึกอบรมและได้ปฏิบัติงานในพื้นที่ จำนวน 11 จุด เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการจราจรและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินให้กับนักเรียนผู้ปกครองและประชาชนที่ใช้เส้นทางสัญจรไปมาบริเวณหน้าสถานศึกษาและสถานที่ที่มีประชาชนโดยเฉพาะในช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า-เย็น ในพื้นที่เขต สรุปผลการปฏิบัติงาน 1.ผลการปฏิบัติงานประจำเดือนตุลาคม 2563 จำนวน 880 ครั้ง 2.ผลการปฏิบัติงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 400 ครั้ง 3.ผลการปฏิบัติงานประจำเดือนธันวาคม 2563 จำนวน 616 ครั้ง
พื้นที่เสี่ยงภัยเป็นพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายมีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรมกับประชาชน มีการสำรวจและจัดทำบัญชีใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ให้เหมาะสมกับปัจจุบัน จำนวน 7 จุด และขอรายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัย มีรายละเอียดดังนี้คือ 1. รายงานตามแบบ 1 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย เช่น ทำความสะอาดตัดต้นไม้ เดือนมกราคม 2564 จำนวน 7 ครั้ง เดือนพฤศจิกายน จำนวน 7 ครั้ง เดือนธันวาคม จำนวน 7 ครั้ง 2. รายงานตามแบบ 2 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ไฟฟ้าส่องสว่าง เดือนมกราคม – เดือนมีนาคม 2564 ไม่สามารถดำเนินการได้ ทั้ง 7 จุด เนื่องจากมีไฟฟ้าส่องเสว่างติดตั้งไว้เพียงพออยู่แล้ว, ติดตั้ง CCTV ไว้เพียงพอ, เป็นพื้นที่เอกชน 3. รายงานตามแบบ 3 ได้ทำการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม มีการติดตั้งป้ายฯ เดือนมกราคม – มีนาคม 2564 จำนวน 7 จุดต่อเดือน 4. รายงานตามแบบ 4 ตรวจการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมฯ เดือนมกราคม 2564 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) รวม 651 ครั้ง เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) รวม 588 ครั้ง เดือนมีนาคม 2564 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) รวม 651 ครั้ง 5. รายงานตามแบบ 5 การตรวจประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) จำนวนครั้งการตรวจ ผลการดำเนินการ ประจำเดือนมกราคม 2564 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (31 วัน) รวม 217 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด ผลการดำเนินการ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (30 วัน) รวม 210 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด ผลการดำเนินการ ประจำเดือนมีนาคม 2564 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (31 วัน) รวม 217 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด 6. รายงานตามแบบ 6 สถิติการเกิดคดีอาชญากรรมบริเวณพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกทม.จำนวน 7 จุดแต่อย่างใด ประจำเดือนมกราคม – มีนาคม 2564 ผลการดำเนินการไม่พบว่ามีคดีเกิดขึ้นในพื้นที่ของสถานีตำรวจนครบาล 4 แห่ง (ประเวศ, บางนา, อุดมสุขและพระโขนง)
ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมการก่ออาชญากรรม รายละเอียดผลการดำเนินการ พื้นที่เสี่ยงภัยเป็นพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายมีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรมกับประชาชน มีการสำรวจและจัดทำบัญชีใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ให้เหมาะสมกับปัจจุบัน จำนวน 7 จุด และขอรายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัย มีรายละเอียดดังนี้คือ 1. รายงานตามแบบ 1 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย เช่น ทำความสะอาดตัดต้นไม้ เดือนเมษายน 2564 จำนวน 7 ครั้ง เดือนพฤษภาคม จำนวน 7 ครั้ง เดือนมิถุนายน จำนวน 7 ครั้ง 2. รายงานตามแบบ 2 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ไฟฟ้าส่องสว่าง เดือนเมษายน – เดือนมิถุนายน 2564 ไม่สามารถดำเนินการได้ ทั้ง 7 จุด เนื่องจากมีไฟฟ้าส่องเสว่างติดตั้งไว้เพียงพออยู่แล้ว, ติดตั้ง CCTV ไว้เพียงพอ, เป็นพื้นที่เอกชน 3. รายงานตามแบบ 3 ได้ทำการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม มีการติดตั้งป้ายฯ เดือนเมษายน – มิถุนายน 2564 จำนวน 7 จุดต่อเดือน 4. รายงานตามแบบ 4 ตรวจการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมฯ เดือนเมษายน 2564 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (30 วัน) รวม 420 ครั้ง เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) รวม 434 ครั้ง เดือนมิถุนายน 2564 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (30 วัน) รวม 420 ครั้ง 5. รายงานตามแบบ 5 การตรวจประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) จำนวนครั้งการตรวจ ผลการดำเนินการ ประจำเดือนเมษายน 2564 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (30 วัน) รวม 210 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด ผลการดำเนินการ ประจำเดือนพฤษภาคม 2564 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (31 วัน) รวม 217 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด ผลการดำเนินการ ประจำเดือนมิถุนายน 2564 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (30 วัน) รวม 210 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด 6. รายงานตามแบบ 6 สถิติการเกิดคดีอาชญากรรมบริเวณพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกทม.จำนวน 7 จุดแต่อย่างใด ประจำเดือนเมษายน – มิถุนายน 2564 ผลการดำเนินการไม่พบว่ามีคดีเกิดขึ้นในพื้นที่ของสถานีตำรวจนครบาล 4 แห่ง (ประเวศ, บางนา, อุดมสุขและพระโขนง)
รายละเอียดผลการดำเนินการ พื้นที่เสี่ยงภัยเป็นพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายมีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรมกับประชาชน มีการสำรวจและจัดทำบัญชีใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ให้เหมาะสมกับปัจจุบัน จำนวน 7 จุด และขอรายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัย มีรายละเอียดดังนี้คือ 1. รายงานตามแบบ 1 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย เช่น ทำความสะอาดตัดต้นไม้ เดือนกรกฎาคม 2564 จำนวน 7 ครั้ง เดือนสิงหาคม จำนวน 7 ครั้ง เดือนกันยายน จำนวน 7 ครั้ง 2. รายงานตามแบบ 2 ผลการดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ไฟฟ้าส่องสว่าง เดือนกรกฎาคม – เดือนกันยายน 2564 ไม่สามารถดำเนินการได้ ทั้ง 7 จุด เนื่องจากมีไฟฟ้าส่องเสว่างติดตั้งไว้เพียงพออยู่แล้ว, ติดตั้ง CCTV ไว้เพียงพอ, เป็นพื้นที่เอกชน 3. รายงานตามแบบ 3 ได้ทำการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม มีการติดตั้งป้ายฯ เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2564 จำนวน 7 จุดต่อเดือน 4. รายงานตามแบบ 4 ตรวจการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมฯ เดือนกรกฎาคม 2564 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (30 วัน) รวม 651 ครั้ง เดือนสิงหาคม 2564 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) รวม 651 ครั้ง เดือนกันยายน 2564 จำนวนครั้งการตรวจอย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด (30 วัน) รวม 630 ครั้ง 5. รายงานตามแบบ 5 การตรวจประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) จำนวนครั้งการตรวจ ผลการดำเนินการ ประจำเดือนกรกฎาคม 2564 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (30 วัน) รวม 217 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด ผลการดำเนินการ ประจำเดือนสิงหาคม 2564 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (31 วัน) รวม 217 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด ผลการดำเนินการ ประจำเดือนกันยายน 2564 อย่างน้อย 1 ครั้ง/จุด/วัน (30 วัน) รวม 210 ครั้ง มีการติดตั้งแล้ว 4 จุด ยังไม่มีการติดตั้ง 3 จุด และติดตั้งอยู่เดิม/ใช้งานได้ปกติ 14 จุด 6. รายงานตามแบบ 6 สถิติการเกิดคดีอาชญากรรมบริเวณพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกทม.จำนวน 7 จุดแต่อย่างใด ประจำเดือนกรกฎาคม – กันยายน 2564 ผลการดำเนินการไม่พบว่ามีคดีเกิดขึ้นในพื้นที่ของสถานีตำรวจนครบาล 4 แห่ง (ประเวศ, บางนา, อุดมสุขและพระโขนง)
จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตรา จุดเสี่ยงภัย x 100 หาร ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับ การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยตามแผน
1. การดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย 2. การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย 3. การรายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |