ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นายเอกรินทร์ อินทร์สุวรรณ และ นายกำพล เลี้ยงบำรุง เบอร์โทรศัพท์ 6210 - 6211
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
กรุงเทพมหานคร มีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจนเกือบล้ำความเป็นมหานคร ซึ่งในความเจริญอย่างต่อเนื่องย่อมส่งผลกระทบต่อสภาพสังคมในปัจจุบัน อาทิ ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ในด้านการดำเนินชีวิตของคนสังคมเมืองที่ต้องพบหรือประสบเหตุอันสืบเนื่องจากสภาพความเสี่ยงหลายประการที่เป็นเหตุด้านความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น การเดินทางทางน้ำ การเดินทางทางบก ที่ดินรกร้างว่างเปล่า อาคารร้าง พื้นที่เปลี่ยว ชุมชน สะพานลอยคนข้าม เป็นต้น ทำให้การควบคุม กำกับ ดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนสังคมเมืองมหานครไม่ทั่วถึง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการบูรณาการร่วมของส่วนราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติเกิดความสอดคล้องและเพิ่มความร่วมมือในการแสวงหาแนวทางป้องกันและแก้ไขให้เกิดความปลอดภัยตามพื้นที่เสี่ยงครบถ้วนทั่วพื้นที่ ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการบรรลุวัตถุประสงค์ ประสบผลสำเร็จ เพิ่มประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล และเพื่อเพิ่มขีดวามสามารถในการดำเนินงานในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการการดำเนินงานป้องกันการก่ออาชญากรรม ขึ้น
50040900/50040900
1. เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2. เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา 3. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่น 4. เพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีกับเจ้าหน้าที่เทศกิจ และองค์กรกรุงเทพมหานคร
เชิงปริมาณ ออกตรวจตราและเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงในพื้นที่ความรับผิดชอบ เชิงคุณภาพ ประชาชนได้รับความปลอดภัยจากการดำเนินการตามโครงการ เชิงเวลา ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดปีงบประมาณ
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-09-16)
16/09/2563 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2020-08-17)
17/08/2563 : 1. นายจิรัฏฐ์ บิณฑวิหค พนักงานเทศกิจชำนาญงาน หัวหน้าชุดสายตรวจ 253 ปฎิบัติหน้าที่ตรวจตราท่าเทียบเรือที่อยู่ในความรับผิดชอบ คือ ท่าเทียบเรือด่วนสี่พระยา และท่าเรือสาทร 2. นายกำพล เลี้ยงบำรุง เจ้าพนักงานเทศกิจชำนาญการ หัวหน้างานกิจการพิเศษ ดำเนินการ 2.1 ประสานฝ่ายปกครองขอรายงานการตรวจสอบประสิทธิภาพ CCTV 2.2 ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาด บริเวณป้ายรถประจำทาง 2.3 ประสานฝ่ายโยธา ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง 2.4 รวบรวมข้อมูลตามโครงการเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร การตรวจจุดเสี่ยงภัย 3. รวบรวมผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง สรุปรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
** ปัญหาของโครงการ :1. จุดเสี่ยงภัยมีค่อนข้างมาก ประกอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีขีดจำกัด มีภารกิจอื่นที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือผู้บริหารมอบหมาย อาจทำให้การปฏิบัติงานตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญกับบุคคลอันตราย 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัดเพราะมีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจอย่างจริงจัง และทำให้การดำเนินงานล่าช้า ย่อมไม่สามารถบรรลุผลได้ 4. เจ้าของหรือผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์จุดเสี่ยงภัยบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ หรือไม่สะดวกในการติดต่อประสานงาน ทำให้การเข้าพื้นที่ดำเนินงานไม่คล่องตัวและอาจเกิดปัญหาอุปสรรคด้านข้อกฎหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2020-07-16)
16/07/2563 : 1. นายจิรัฏฐ์ บิณฑวิหค พนักงานเทศกิจชำนาญงาน หัวหน้าชุดสายตรวจ 253 ปฎิบัติหน้าที่ตรวจตราท่าเทียบเรือที่อยู่ในความรับผิดชอบ คือ ท่าเทียบเรือด่วนสี่พระยา และท่าเรือสาทร 2. นายกำพล เลี้ยงบำรุง เจ้าพนักงานเทศกิจชำนาญการ หัวหน้างานกิจการพิเศษ ดำเนินการ 2.1 ประสานฝ่ายปกครองขอรายงานการตรวจสอบประสิทธิภาพ CCTV 2.2 ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาด บริเวณป้ายรถประจำทาง 2.3 ประสานฝ่ายโยธา ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง 2.4 รวบรวมข้อมูลตามโครงการเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร การตรวจจุดเสี่ยงภัย 3. รวบรวมผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง สรุปรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
** ปัญหาของโครงการ :1. จุดเสี่ยงภัยมีค่อนข้างมาก ประกอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีขีดจำกัด มีภารกิจอื่นที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือผุ้บริหารมอบหมาย อาจทำให้การปฏิบัติงานตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญกับบุคคลอันตราย 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัดเพราะมีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจอย่างจริงจัง และทำให้การดำเนินงานล่าช้าย่อมไม่สามารถบรรลุผลได้ 4. เจ้าของหรือผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์จุดเสี่ยงภัยบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ หรือไม่สะดวกในการติดต่อประสานงาน ทำให้การเข้าพื้นที่ดำเนินงานไม่คล่องตัวและอาจเกิดปัญหาอุปสรรคด้านข้อกฎหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2020-06-15)
15/06/2563 : 1. นายจิรัฏฐ์ บิณฑวิหค พนักงานเทศกิจชำนาญงาน หัวหน้าชุดสายตรวจ 253 ปฎิบัติหน้าที่ตรวจตราท่าเทียบเรือที่อยู่ในความรับผิดชอบ คือ ท่าเทียบเรือด่วนสี่พระยา และท่าเรือสาทร 2. นายกำพล เลี้ยงบำรุง เจ้าพนักงานเทศกิจชำนาญการ หัวหน้างานกิจการพิเศษ ดำเนินการ 2.1 ประสานฝ่ายปกครองขอรายงานการตรวจสอบประสิทธิภาพ CCTV 2.2 ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาด บริเวณป้ายรถประจำทาง 2.3 ประสานฝ่ายโยธา ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง 2.4 รวบรวมข้อมูลตามโครงการเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร การตรวจจุดเสี่ยงภัย 3. รวบรวมผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง สรุปรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
** ปัญหาของโครงการ :1. จุดเสี่ยงภัยมีค่อนข้างมาก ประกอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีขีดจำกัด มีภารกิจอื่นที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือผุ้บริหารมอบหมาย อาจทำให้การปฏิบัติงานตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญ 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัดเพราะมีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจอย่างจริงจัง และทำให้การดำเนินงานล่าช้าย่อมไม่สามารถบรรลุผลสำเร็จได้ 4. เจ้าของหรือผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์จุดเสี่ยงภัยบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ หรือไม่สะดวกในการติดต่อประสานงาน ทำให้การเข้าพื้นที่ดำเนินงานไม่คล่องตัวและอาจเกิดปัญหาอุปสรรคด้านข้อกฎหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2020-05-14)
14/05/2563 : 1. ชุดสายตรวจ 253 นายจิรัฏฐ์ บิณฑวิหค พนักงานเทศกิจชำนาญงาน เป็นหัวหน้าชุด ออกตรวจตราท่าเทียบเรือที่อยู่ในความรับผิดชอบ คือ ท่าเทียบเรือด่วนสี่พระยา และท่าเรือสาทร 2. นายกำพล เลี้ยงบำรุง เจ้าพนักงานเทศกิจชำนาญการ หัวหน้างานกิจการพิเศษ - ประสานฝ่ายปกครองขอรายงานการตรวจสอบประสิทธิภาพ CCTV - ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง - ประสานฝ่ายโยธา ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง - รวบรวมข้อมูลตามโครงการเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร การตรวจจุดเสี่ยงภัย 3. รวบรวมผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง สรุปรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
** ปัญหาของโครงการ :1. จุดเสี่ยงภัยมีค่อนข้างมาก ประกอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีขีดจำกัด มีภารกิจอื่นที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือผู้บริหารมอบหมาย อาจทำให้การปฏิบัติงานตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญกับบุคคลอันตราย 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัดเพราะมีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจอย่างจริงจัง และการดำเนินการล่าช้าย่อมไม่สามารถบรรลุผลได้ 4. เจ้าของหรือผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์จุดเสี่ยงภัยบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ หรือไม่สะดวกในการติดต่อประสานงาน ทำให้การเข้าพื้นที่ดำเนินงานไม่คล่องตัวและอาจเกิดปัญหาอุปสรรคด้านข้อกฎหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2020-04-30)
30/04/2563 : 1. ชุดสายตรวจ 253 มีนายจิรัฏฐ์ บิณฑวิหค หัวหน้าชุด ออกตรวจตราท่าเทียบเรือที่อยู่ในความรับผิดชอบ คือ ท่าเทียบเรือด่วนสี่พระยา และท่าเรือสาทร 2. นายกำพล เลี้ยงบำรุง หัวหน้างานกิจการพิเศษ ดำเนินการ - ประสานฝ่ายปกครอง ขอรายงานการตรวจสอบประสิทธิภาพ CCTV - ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง - ประสานฝ่ายโยธา ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง - รวบรวมข้อมูลตามโครงการเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร การตรวจจุดเสี่ยงภัย 3. รวบรวมผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องสรุปรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
** ปัญหาของโครงการ :1. จุดเสี่ยงภัยมีค่อนข้างมาก ประกอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีขีดจำกัด มีภารกิจอื่นที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือผุ้บริหารมอบหมาย อาจทำให้การปฏิบัติงานตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญ 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัดเพราะมีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือร่วมใจอย่างจริงจังและทำให้การดำเนินงานล่าช้าย่อมไม่สามารถบรรลุผลได้ 4. เจ้าของหรือผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์จุดเสี่ยงภัยบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ หรือไม่สะดวกในการติดต่อประสานงาน ทำให้การเข้าพื้นที่ดำเนินงานไม่คล่องตัวและอาจเกิดปัญหาอุปสรรคด้านข้อกฎหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2020-03-17)
17/3/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ชุดสายตรวจ 253 มีนายจิรัฏฐ์ บิณฑวิหค พนักงานเทศกิจชำนาญงาน ออกตรวจตราท่าเทียบเรือที่อยู่ในความรับผิดชอบ คือ ท่าเทียบเรือด่วนสี่พระยา และท่าเรือสาทร 2. นายกำพล เลี้ยงบำรุง เจ้าพนักงานเทศกิจชำนาญการ หัวหน้างานกิจการพิเศษ ดำเนินการ - ประสานฝ่ายปกครองขอรายงานการตรวจสอบประสิทธิภาพ CCTV - ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อม ด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง - ประสานฝ่ายโยธา ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง - รวบรวมข้อมูลตามโครงการเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร การตรวจจุดเสี่ยงภัย 3. รวบรวมผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง สรุปรายงานให้ผู้บังคับบัญชา
** ปัญหาของโครงการ :1. จุดเสี่ยงภัยมีค่อนข้างมาก ประกอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีขีดจำกัด มีภารกิจอื่นที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือผู้บริหารมอบหมาย อาจทำให้การปฏิบัติงานตามโครงการไม่สบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญกับบุคคลอันตราย 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัดเพราะมีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือร่วมใจอย่างจริงจัง และทำให้การดำเนินงานล่าช้า ย่อมไม่สามารถบรรลุผลได้ 4. เจ้าของหรือผุ้ครอบครองกรรมสิทธิ์จุดเสี่ยงภัยบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ หรือไม่สะดวกในการติดต่อประสานงาน ทำให้การเข้าพื้นที่ดำเนินงานไม่คล่องตัวและอาจเกิดปัญหาอุปสรรคด้านข้อกฏหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2020-02-15)
2020-2-15 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. นายจิรัฏฐ์ บิณฑวิค พนักงานเทศกิจชำนาญงาน หัวหน้าชุดสายตรวจ 253 ออกตรวจตราท่าเทียบเรือที่อยู่ในความรับผิดชอบ จำนวน 2 ท่าเรือ คือ ท่าเทียบเรือด่วนสี่พระยา และ ท่าเรือสาทร 2. นายกำพล เลี้ยงบำรุง เจ้าพนักงานเทศกิจชำนาญการ หัวหน้างานกิจการพิเศษ ดำเนินการ - ประสานฝ่ายปกครอง ขอรายงานผลการตรวจสอบกล้อง CCTV - ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง - ประสานฝ่ายโยธา ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง - รวบรวมข้อมูลตามโครงการเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร การตรวจจุดเสี่ยงภัย 3. รวบรวมผลงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง สรุปรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
** ปัญหาของโครงการ :1. จุดเสี่ยงภัยมีค่อนข้างมาก ประกอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีขีดจำกัด มีภารกิจอื่นที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือผู้บริหารมอบหมาย อาจทำให้การปฏิบัติงานตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญกับบุคคลอันตราย 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือร่วมใจจากหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัด เพราะมีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมืออย่างจริงจัง และทำให้การดำเนินงานล่าช้า ย่อมไม่สามาถรบรรลุผลสำเร็จได้ 4. เจ้าของหรือผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์จุดเสี่ยงภัยบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ หรือไม่สะดวกในการติดต่อประสานงาน ทำให้การเข้าพื้นที่ดำเนินงานไม่คล่องตัวและอาจเกิดปัญหาอุปสรรคด้านข้อกฎหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2020-01-16)
16/1/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. นายจิรัฏฐ์ บิณฑวิหค หัวหน้าชุดสายตรวจ 253 ออกตรวจตราท่าเทียบเรือที่อยู่ในความรับผิดชอบ คือ ท่าเทียบเรือด่วนสี่พระยา และท่าเรือสาทร 2. นายกำพล เลี้ยงบำรุง หัวหน้างานกิจการพิเศษ ดำเนินการ - ประสานฝ่ายปกครอง ขอรายงานการตรวจสอบประสิทธิภาพ CCTV - ประสานฝ่ายรักษาฯ ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยที่ได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง - ประสานฝ่ายโยธา ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง - รวบรวมข้อมูลตามโครงการเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร การตรวจจุดเสี่ยงภัย 3. รวบรวมผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง สรุปรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
** ปัญหาของโครงการ :1. จุดเสี่ยงภัยค่อนข้างมาก ประกอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีขีดจำกัด มีภารกิจอื่นที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือผู้บริหารมอบหมาย อาจทำให้การปฏิบัติงานตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญกับบุคคลอันตราย 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัดเพราะมีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือร่วมใจอย่างจริงจัง จะทำให้การดำเนินงานล่าช้า ย่อมไม่สามารถบรรลุผลได้ 4. เจ้าของอาคารหรือผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์จุดเสี่ยงภัยบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ หรือไม่สะดวกในการติดต่อประสานงาน ทำให้การเข้าพื้นที่ดำเนินงานไม่คล่องตัว และอาจเกิดปัญหาอุปสรรคด้านข้อกฏหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2019-12-16)
16/12/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ชุดสายตรวจ 253 (นายจิรัฏฐ์ บิณฑวิหค หัวหน้าชุด) ออกตรวจตราท่าเทียบเรือที่อยู่ในความรับผิดชอบ คือ ท่าเทียบเรือด่วนสี่พระยา และท่าเทียบเรือสาทร 2. นายกำพล เลี้ยงบำรุง หัวหน้างานกิจการพิเศษ ดำเนินการ - ประสานฝ่ายปกครองขอรายงานการตรวจสอบประสิทธิภาพ CCTV - ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง - ประสานฝ่ายโยธา ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง - นำข้อมูลโครงการเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร การตรวจจุดเสี่ยงภัย 3. รวบรวมผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องสรุปรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้นเป็นประจำทุกเดือน
** ปัญหาของโครงการ :1. จุดเสี่ยงภัยมีค่อนข้างมาก ประกอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีขีดจำกัด มีภารกิจอื่นที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือผู้บริหารมอบหมาย อาจทำให้การปฏิบัติงานตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าาที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญกับบุคคลอันตราย 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือ ร่วมใจอย่างจริงจัง และทำให้การดำเนินงานล่าช้าย่อมไม่สามารถบรรลุผลได้ 4. เจ้าของหรือผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์จุดเสี่ยงภัยบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ หรือไม่สะดวกในการติดต่อประสานงาน ทำให้การเข้าพื้นที่ดำเนินงานไม่คล่องตัวและอาจเกิดปัญหาอุปสรรคด้านข้อกฎหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2019-11-18)
18/11/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ชุดสายตรวจ 253 มีนายจิรัฏฐ์ บิณฑวิหค เป็นหัวหน้าชุด ออกตรวจตราท่าเทียบเรือที่อยู่ในความรับผิดชอบ คือ ท่าเทียบเรือด่วนสี่พระยา และท่าเทียบเรือสาทร 2. นายกำพล เลี้ยงบำรุง หัวหน้างานกิจการพิเศษ ดำเนินการ - ประสานฝ่ายปกครองขอรายงานการตรวจสอบประสิทธิภาพ CCTV - ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง - ประสานฝ่ายโยธา ขอข้อมูลและรายงานจุดเสี่ยงภัยได้รับการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง - รายงานข้อมูลโครงการ 3. รวบรวมผลดังกล่าวสรุปรายงานผู้บังคับบัญชาทราบตามลำดับชั้น
** ปัญหาของโครงการ :1. จุดเสี่ยงภัยมีค่อนข้างมาก ประกอบกับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีขีดจำกัด มีภารกิจอื่นที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือผู้บริหารมอบหมาย อาจทำให้การปฏิบัติงานตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญ 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัด เพราะมีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจอย่างจริงจัง และทำให้การดำเนินการงานล่าช้าย่อมไม่สามารถบรรลุผลได้ 4. เจ้าของกรรมสิทธิ์จุดเสี่ยงภัยบางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ หรือไม่สะดวกในการติดต่อประสานงาน ทำให้การเข้าพื้นที่ดำเนินงานไม่คล่องตัวและอาจเกิดปัญหาอุปสรรคด้านข้อกฎหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2019-11-17)
17/11/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ชุดสายตรวจออกตรวจสอบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 9 จุด คือ - ชุดสายตรวจ 251 ออกตรวจสอบพื้นที่เสี่ยงบริเวณ ลานเลิฟลี่ ถนนนราธิวาสฯ - ชุดสายตรวจ 253 ออกตรวจสอบพื้นที่เสี่ยงบริเวณสวนหย่อมมหาพฤฒาราม ถนนมหาพฤฒาราม , อาคารร้างใต้ทางด่วนลานกีฬา ตรอกห้านาย ถนนมหานคร , ใต้ทางด่วน ถนนสีพระยา , ใต้ทางด่วนถนนเจริญกรุง 43 (สะพานยาว) ถนนเจริญกรุง , สถานทูตรัสเซีย ถนนทรัพย์ - ชุดสายตรวจ 254 ออกตรวจสอบพื้นที่เสี่ยงบริเวณบ้านนายเจริญ สิริวัฒนภักดี ถนนสุรวงศ์ - ชุดสายตรวจ 255 ออกตรวจสอบพื้นที่เสี่ยงบริเวณสถานทูตพม่า ถนนสาทรเหนือ และ บริเวณป่าช้าจีน ซอยสีลม 9 2. รายงานผลการปฏิบัติงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
** ปัญหาของโครงการ :1. อัตรากำลังเจ้าหน้าที่เทศกิจมีน้อย ซึ่งมีภารกิจต้องปฏิบัติทั้งเวลากลางวันและกลางคืน อาจทำให้การปฏิบัติตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญ 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือร่วมใจจากเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัด และเจ้าหน้าที่ตำรวจ เพราะเป็นงานที่มีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือร่วมใจอย่างจริงจังและหากดำเนินการล่าช้าย่อมไม่สามารถบรรลุผลได้ 4. บ้านร้าง อาคารร้าง และที่รกร้างว่างเปล่า ส่วนใหญ่จะไม่ทราบเจ้าของกรรมสิทธิ์ ทำให้การติดต่อประสานงานเพื่อปรับปรุงแก้ไขป้องกันการเป็นแหล่งมั่วสุมเพื่อกระทำผิดกฎหมายเป็นไปด้วยความยากลำบากและล่าช้า และการเข้าไปในสถานที่ดังกล่าวอาจเป็นปัญหากับเจ้าหน้าที่ในประเด็นข้อกฎหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(13) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2019-10-29)
29/10/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. จัดทำโครงการ 2. จัดทำคำสั่งมอบหน้าหน้าที่ความรับผิดชอบ 3. ชุดสายตรวจออกตรวจสอบพื้นที่ที่กำหนดเป็นพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 9 ชุด - ชุดสายตรวจ 251 นายจตุรวิทย์ หอมเอื้อม หัวหน้าชุด รับผิดชอบ ลานเลิฟลี่ ถนนนราธิวาสฯ - ชุดสายตรวจ 253 นายจิรัฏฐ์ บิณฑวิหค หัวหน้าชุด รับผิดชอบ สวนหย่อมมหาพฤฒาราม ถนนมหาพฤฒาราม, อาคารร้างใต้ทางด่วนลานกีฬา ตรอกห้านาย ถนนมหานคร, ใต้ทางด่วน ถนนสี่พระยา, ใต้ทางด่วนถนนเจริญกรุง 43 (สะพานยาว ถนนเจริญกรุง), สถานทูตรัสเซีย ถนนทรัพย์ - ชุดสายตรวจ 254 นายสาโรจน์ ศรีนิล หัวหน้าชุด รับผิดชอบ บ้านนายเจริญ สิริวัฒนภักดี ถนนสุรวงศ์ - ชุดสายตรวจ 255 นายพีรศักดิ์ เกษรกุล รับผิดชอบ ป่าช้าจีน ซอยสีลม 9 และสถานทูตพม่า ถนนสาทรเหนือ 4. รายงานผลให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
** ปัญหาของโครงการ :1. อัตรากำลังเจ้าหน้าที่เทศกิจมีน้อย ซึ่งมีภารกิจต้องปฏิบัติทั้งเวลากลางวันและกลางคืน อาจทำให้การปฏิบัติตามโครงการไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร 2. เจ้าหน้าที่ขาดความชำนาญและไม่มีประสบการณ์ในการตรวจตรา แก้ไขเหตุอันตรายที่ต้องเผชิญ 3. การดำเนินการตามโครงการ จำเป็นอย่างยิ่งต้องได้รับความร่วมมือร่วมใจจากเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัดและเจ้าหน้าที่ตำรวจ เพราะเป็นงานที่มีความเสี่ยงต่ออันตราย ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือร่วมใจอย่างจริงจัง และหากดำเนินการล่าช้ายย่อมไม่สามารถบรรลุผลได้ 4. บ้านร้าง อาคารร้าง และที่รกร้างว่างเปล่า ส่วนใหญ่จะไม่ทราบเจ้าของกรรมสิทธิ์ ทำให้การติดต่อประสานงานเพื่อปรับปรุงแก้ไขป้องกันการเป็นแหล่งมั่วสุมเพื่อกระทำผิดกฎหมายเป็นไปด้วยความยากลำบากและล่าช้า และการเข้าไปในสถานที่ดังกล่าวอาจเป็นปัญหากับเจ้าหน้าที่ในประเด็นข้อกฎหมาย
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **