ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย : 50130000-3521

สำนักงานเขตมีนบุรี : (2563)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

นางกัญญ์ทิยา นิลวดี

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3 100

หลักการและเหตุผล

จากการดำเนินการโครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2549 เป็นต้นมา ในภาพรวมพบว่าสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารมีแนวโน้มลดลง โดยสถิติการปนเปื้อนทั้งสารเคมีอันตรายและเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรค ระบบทางเดินอาหารในปี 2549 – 2557 พบร้อยละ 3.6, 6.2, 8.0, 4.8, 2.9, 3.4, 2.4, 1.9 และ 1.9 ตามลำดับ โดยพบว่าอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันต่อแสนประชากรในกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มลดลง คือ 849.5 ในปี 2550 และลดลงเหลือ 821.9, 720.6, 702.2, 772.1 และ 696.6 ในปี 2551 – 2555 ตามลำดับ และสูงขึ้นเล็กน้อยในปี 2556 (709.0) อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานครจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้นก็ตาม แต่เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย ในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครสูงสุด สำนักงานเขตมีนบุรี จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ในปีงบประมาณ 2560 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร และประชาชนตระหนักในสิทธิหน้าที่ของตนเองในการเลือกซื้ออาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ ตลอดจนเป็นการเสริมสร้างความร่วมมือการดำเนินงานอาหารปลอดภัยแบบบูรณาการทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน

50130400/50130400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1 เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะสถานประกอบการอาหาร ได้แก่ ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร โรงอาหารในโรงเรียน ตลาดสด ซูเปอร์มาร์เก็ต แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี และ มินิมาร์ท ให้ดีขึ้น 2 เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร ได้แก่ ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร โรงอาหารในโรงเรียน ตลาดสด ซูเปอร์มาร์เก็ต แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี และ มินิมาร์ท 3 เพื่อเผยแพร่ความรู้ สร้างความเข้าใจ ในเรื่องการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการอาหาร ได้แก่ ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร โรงอาหารในโรงเรียน ตลาดสด ซูเปอร์มาร์เก็ต แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี และ มินิมาร์ท 4 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคและสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 5 เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร และมีความรู้ ความเข้าใจ มีทางเลือกในการซื้อ อาหารที่สะอาด ปลอดภัย 6 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน หน่วยงาน/สถานบันต่าง ๆ ในการ ดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย 7 เพื่อส่งเสริมให้มีการจัดตั้งประชาคมเครือข่ายพันธมิตรในการดำเนินการเรื่องอาหาร ปลอดภัย 8 เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีในด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

เป้าหมายของโครงการ

1 ตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจคุณภาพอาหารไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคหรือสารพิษ จำนวนร้อยละ 90 2 อาหารและวัตถุดิบผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัยโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) ตรวจหาสารเคมีอันตราย 4 ชนิด คือ สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค สารฟอร์มาลีน อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย และโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ตรวจไม่พบการปนเปื้อนมากกว่าร้อยละ 90 3 ตรวจหาสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอดหรือประกอบอาหาร จำนวน 200 ตัวอย่าง 4 เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ดังนี้ - เชื้อที่อาจก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหาร - เชื้อ Aflatoxin 5 สถานประกอบการอาหาร ได้แก่ ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร โรงอาหารในโรงเรียน ตลาดสด ซูเปอร์มาร์เก็ต แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี และมินิมาร์ท ผ่านเกณฑ์สุขลักษณะทางกายภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 6 สถานประกอบการอาหาร ได้แก่ ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร โรงอาหารในโรงเรียน ตลาดสด ซูเปอร์มาร์เก็ต แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี และมินิมาร์ท ได้รับการตรวจประเมิน ด้านสุขลักษณะทางกายภาพ คุณภาพอาหาร ปฏิบัติตามหลักการสุขาภิบาลอาหารที่กำหนดไว้ในข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง สถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร พ.ศ. 2545 และผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวนร้อยละ 60 7 บุคลากรผู้สัมผัสอาหารได้รับการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเองด้านการสุขาภิบาลอาหาร ตามหลักสูตรที่กรุงเทพมหานครกำหนดและผ่านการทดสอบความรู้ โดยได้รับหนังสือรับรอง และบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร 8 จัดอบรมอาสาสมัครอาหารปลอดภัย จำนวน 45 คน 9 ดำเนินการสุขาภิบาลอาหารในพื้นที่ โดยการจัดนิทรรศการให้ความรู้เรื่องการสุขาภิบาล อาหาร ดำเนินการในกลุ่มเป้าหมายโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 13 แห่ง ๑๐ จัดประชุมเครือข่ายการสุขาภิบาลอาหารริมบาทวิถี จำนวน 60 คน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-09-16)

100.00

16/09/2563 : -ส่งเสริมสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย ซึ่งสถานประกอบการอาหารที่ได้รับป้ายผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 265 แห่ง จากทั้งหมด 265 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2020-08-25)

95.00

25/08/2563 : 1. จัดทำแผนงาน 2. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 8 แห่ง - โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร 6 แห่ง - มินิมาร์ท 4 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 30 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 10 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 25 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 20 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 20 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 77 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 12 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2020-07-29)

90.00

29/07/2563 : 1. จัดทำแผนงาน 2. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 7 แห่ง - ซูเปอร์มาร์เก็ต 1 แห่ง - มินิมาร์ท 6 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 30 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 9 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 11 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 18 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 20 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 12 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 78 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 9 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2020-06-29)

80.00

29/06/2563 : 1. จัดทำโครงการและแผนงาน 2. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 10 แห่ง - ตลาดประเภท 2 1 แห่ง - มินิมาร์ท 12 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 30 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 11 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 21 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 20 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 128ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 9 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2020-05-25)

75.00

25/05/2563 : ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 6 แห่ง - มินิมาร์ท 7 แห่ง - ซูเปอร์มาร์เก็ต 1 แห่ง - ตลาดประเภท 2 1 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 20 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 10 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 9 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 19 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 14 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 66 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 5 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :สถานการณ์โรคระบาด สถานประกอบการอาหารปิดบริการ

** อุปสรรคของโครงการ :สถานการณ์โรคระบาด

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2020-04-27)

70.00

ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 8 แห่ง - มินิมาร์ท 10 แห่ง - ตลาดประเภท 1 1 แห่ง - ตลาดประเภท 2 3 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 34 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 7 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 12 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 25 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 20 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 20 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 98 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 1 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :สถานการณ์โรคระบาด

** อุปสรรคของโครงการ :สถานการณ์โรคระบาด

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2020-03-30)

60.00

30/3/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 18 แห่ง - มินิมาร์ท 27 แห่ง - ตลาดประเภท 2 4 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 31 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 11 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 13 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 25 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 20 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 20 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 273 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 14 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :สถานการณ์โรคระบาด ทำให้สถานประกอบการอาหารปิด-หยุดบริการ เจ้าหน้าที่ต้องเร่งดำเนินการ ทำให้อาจไม่ครบตามเป้าหมาย

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2020-02-27)

50.00

27/2/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. จัดทำแผนงาน 2. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 16 แห่ง - มินิมาร์ท 10 แห่ง - โรงเรียนนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร 4 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 36 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 11 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 13 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 25 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 7 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 20 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 20 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 17 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 148 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 6 ตัวอย่าง เบิกค่าตัวอย่างอาหาร 3000 บาท เบิกค่าอาหารทำการล่วงเวลา 20000 บาท

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2020-01-28)

40.00

28/1/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. จัดทำแผนงาน 2. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 22 แห่ง - ตลาดประเภท 2 2 แห่ง - ซูเปอร์มาร์เก็ต 4 แห่ง - มินิมาร์ท 13 แห่ง - โรงเรียนนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร 19 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 30 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 13 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 25 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 21 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 20 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 207 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 12 ตัวอย่าง - วัตถุกันเสีย 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไนเตรต 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไนไตร์ 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2019-12-26)

30.00

26/12/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. จัดทำแผนงาน 2. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 15 แห่ง - มินิมาร์ท 1 แห่ง - โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2 แห่ง - อื่นๆ 2 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 30 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 7 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 17 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 25 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 20 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 20 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 109 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 11 ตัวอย่าง - ไนเตรต 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไนไตร์ 2 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2019-11-28)

20.00

28/11/2562 : 1. จัดทำโครงการและแผนงาน 2. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 15 แห่ง - มินิมาร์ท 4 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 32 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 8 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 18 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 25 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 20 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 20 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 15 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 116 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 11 ตัวอย่าง - ไนเตรต 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไนไตร์ 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2019-10-28)

10.00

28/10/2562 : 1. จัดทำโครงการและแผนงาน 2. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะสถานประกอบการ - ร้านจำหน่ายอาหาร 15 แห่ง - ตลาดประเภท 1 3 แห่ง - ตลาดประเภท 2 3 แห่ง - ซูเปอร์มาร์เก็ต 4 แห่ง - มินิมาร์ท 4 แห่ง 3. ตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น - บอแรกซ์ 73 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ฟอร์มาลีน 32 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารฟอกขาว 33 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารกันรา 39 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สีสังเคราะห์ 19 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - สารโพลาร์ 20 ตัวอย่าง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - กรดแร่อิสระ 18 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไอโอเดต 22 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - SI-2 135 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 4 ตัวอย่าง - วัตถุกันเสีย 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไนเตรต 8 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน - ไนไตร์ 8 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:จัดทำโครงการและแผนงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. จัดทำแผนการปฏิบัติงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. สุ่มเก็บตัวอย่างในสถานประกอบการอาหารตามกลุ่ม เป้าหมาย เพื่อตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหาร โดยชุดทดสอบเบื้องต้นเพื่อตรวจหารสารปนเปื้อนและ ตรวจหาการแปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ และมือผู้สัมผัสอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น
:20.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4. เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ เพื่อตรวจวิเคราะห์เชื้อก่อโรคระบบทางเดินอาหาร
:10.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร ได้แก่ ร้านอาหาร ศูนย์อาหารในโรงเรียน ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาดสด แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี และมินิมาร์ท
:20.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:6. จัดประชุมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน
:10.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:7. จัดกิจกรรมพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย
:10.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 8
:8. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหารได้รับการอบรม หรือการเรียนรู้ด้วยตนเองด้านการสุขาภิบาลอาหารตาม หลักสูตรที่กรุงเทพมหานครกำหนด
:15.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 9
:9 รายงานผลการดำเนินการให้ผู้บริหารทราบ
:5.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50130000-3521

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50130000-3521

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5013-0912

ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดที่ 7 (ตัวชี้วัดเจรจาที่ 4 ) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
85.00

100 / 100
2
66.42

100 / 100
3
89.06

0 / 0
4
100.00

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **