รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม: 17000000-3691

คืบหน้าล่าสุด : ร้อยละ 50

ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม พิมพ์ PDF

รหัสโครงการ17000000-3691
ปี2566
ชื่อโครงการโครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาความเหมาะสมระบบขนส่งมวลชนขนาดรองในถนนสายรองและถนนซอยของกรุงเทพมหานคร
Policy ID34
Branch ID1405
Kpi ID1700-940
งบฯ ที่ได้รับ (บาท)5,000,000
งบฯ ที่ใช้ไป (บาท)0
คืบหน้าล่าสุด50
หน่วยงานสำนักการจราจรและขนส่ง
Start Date2022-10-01 00:00:00.000
Finish Date2023-09-30 00:00:00.000
หลักการและเหตุผลการพัฒนาการเชื่อมโยงรูปแบบการเดินทางเพื่อเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะหลักในเขต
กรุงเทพมหานคร เป็นการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งของเมืองที่สอดคล้องกับนโยบายและพันธกิจ
ของกรุงเทพมหานคร ตลอดจนภารกิจหน้าที่ของสำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร (สจส.) ทั้งนี้
การประเมินศักยภาพ การเชื่อมต่อโครงข่ายสาธารณะในปัจจุบันและในอนาคต รูปแบบการพัฒนาระบบขนส่ง
รองที่เหมาะสมสอดคล้องกับพฤติกรรมการเดินทางของผู้โดยสาร โดยมีเป้าหมายเพื่อสนับสนุนผู้เดินทางให้มาใช้
บริการระบบขนส่งสาธารณะหลักเพื่อลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลและบรรเทาปัญหาการจราจร สามารถเพิ่มขีด
ความสามารถในการเข้าถึง เชื่อมต่อ และส่งเสริมศักยภาพในการเดินทางของประชาชน ที่ผ่านมาสำนักงาน
นโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข. ได้ดำเนินการศึกษาการพัฒนโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงรูปแบบ
การเดินทางเพื่อเข้าถึงสถานีรถฟฟ้าและสนามบินในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ และ
ได้ทำการกำหนดแผนพัฒนโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงรูปแบบการเดินทาง เพื่อเข้าถึงสถานีรถไฟฟ้าตามแผน
แม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (M-MAP) สนามบินและระบบขนส่ง
สาธารณะรูปแบบอื่น เพื่อเป็นการพัฒนาการเดินทางของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ สำนัก
การจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร (สจส.) จึงมีแนวคิดที่จะนำเส้นทางที่มีศักยภาพตามโครงข่ายคมนาคม
เชื่อมโยงรูปแบบการเดินทางภายในเขตกรุงเทพมหานคร มาทำการศึกษาในรายละเอียด เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ
ต่อไป
วัตถุประสงค์๒.๑ ศึกษาโครงข่ายการเชื่อมต่อการเดินทางของผู้โดยสารในระบบขนส่งสาธารณะหลักกับระบบขนส่ง
รูปแบบต่างๆ และสิ่งอำนวยความสะดวก (Facilities) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการบริเวณจุดเชื่อมต่อการ
เดินทางรองรับการพัฒนาของระบบขนส่งสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานคร
๒.๒ พัฒนาระบบขนส่งรองที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการเชื่อมต่อการเดินทางและสิ่งอำนวยความ
สะดวกในการเชื่อมต่อการเดินทาง (Intermodal Transfer Facility: ITF) เพื่อเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะหลัก
และสถานีรถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานคร
๒.๓ เสนอแนะรูปแบบการพัฒนาระบบขนส่งรองเชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะหลัก เพื่อเป็นแนวทาง
นำไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร
เป้าหมายหน่วยงานมีรายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ ความเหมาะสมระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง ในถนนสาย
รองและถนนซอยของกรุงเทพมหานคร โดยต้องสำรวจ รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน ผลการศึกษาและแผนงานโครงการ
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เสนอแนะและศึกษาความคุ้มค่าระบบขนส่งรองเชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะหลัก จำนวน ๑ ฉบับ
ผู้รับผิดชอบกลุ่มงานพัฒนาระบบโครงข่าย
ผู้ตรวจประเมินนายสมประสงค์ ทามณีวรรณ โทร.1513
หมายเหตุ(ไม่ได้ตั้ง)
นโยบาย ผว.
ค่าน้ำหนัก1
เป้าหมายโครงการ100 ร้อยละ
ผลการดำเนินการ50 ร้อยละ
หน่วยนับร้อยละ
อธิบายรายละเอียดความคืบหน้า
เป้าหมาย
ผลงานเดือนที่ 150
ผลงานเดือนที่ 150
ผลงานเดือนที่ 250
ผลงานเดือนที่ 350
ผลงานเดือนที่ 150
ผลงานเดือนที่ 450
ผลงานเดือนที่ 550
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 7
ผลงานเดือนที่ 8
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 9
ผลงานเดือนที่ 10
ผลงานเดือนที่ 11
ผลงานเดือนที่ 12

ประวัติการปรับปรุงข้อมูล

วันที่ เวลา ชื่อผู้ใช้ กระทำ สอดคล้องตามนโยบาย เริ่มต้น สิ้นสุด เป้าหมาย ผลการดำเนินการ หน่วยนับ
ความคืบหน้าล่าสุด
วันที่รายงาน ความคืบหน้า สถานะโครงการ ปัญหาอปสรรค รายละเอียด
2023-01-30 25.0 1 มีการเพิ่มขอบเขตของงาน โดยการเพิ่มการศึกษา ระบบขนส่งด่วนพิเศษ BRT เข้าไปใน TOR 30/01/2566 :
2023-02-16 25.0 1 ไม่มี 16/02/2566 :
2023-03-28 50.0 1 ไม่มี 28/03/2566 : หัวหน้าหน่วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบรายงานผลการพิจารณาปละผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งจ้าง
2023-04-15 50.0 1 ไม่มี 15/04/2566 :
2023-05-11 50.0 1 ไม่มี 11/05/2566 :