รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม: 50490000-3732

คืบหน้าล่าสุด : ร้อยละ 80

ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม พิมพ์ PDF

รหัสโครงการ50490000-3732
ปี2566
ชื่อโครงการทางเท้าเดิมโล่ง สะอาด เป็นระเบียบ
Policy ID30
Branch ID0000
Kpi ID5049-2033
งบฯ ที่ได้รับ (บาท)0
งบฯ ที่ใช้ไป (บาท)0
คืบหน้าล่าสุด80
หน่วยงานสำนักงานเขตทุ่งครุ
Start Date2022-10-01 00:00:00.000
Finish Date2023-09-30 00:00:00.000
หลักการและเหตุผล กรุงเทพมหานครมีแบบจัดการสาธารณูปโภคบนทางเท้า โดยหลักการพื้นฐานคือจัดทุกสิ่งให้เป็นแนวชิดถนน เพื่อเว้นระยะด้านในไว้เป็นทางเดิน แบบดังกล่าวก็ไม่เคยบังคับใช้ได้จริง สิ่งกีดขวางบนทางเท้าที่มักพบเห็นทั่วไป เช่น ตู้ชุมสาย ตู้สายไฟ ตู้ไปรษณีย์ตู้โทรศัพท์เสาไฟส่องสว่าง เสากั้นจักรยานยนต์สายไฟ ป้อมตำรวจ ป้อมนายท่ารถเมล์ สวน ต้นไม้ ไม้พุ่ม บันได สะพานลอย บันไดรถไฟฟ้า ป้ายของรัฐ ป้ายของเอกชน ป้ายสถานที่ราชการ ป้ายท่องเที่ยว ป้ายโฆษณาทั้งที่ขออนุญาตและไม่ได้ขออนุญาต นอกจากสิ่งกีดขวางแล้ว จุดทิ้งขยะบนทางเท้าบางจุดเป็นป้ายบอกตำแหน่งบางจุดเป็นคอกและอีกหลายจุดไม่มีป้ายไม่มีคอก เป็นเพียงจุดที่รู้กันระหว่างคนทิ้งและคนเก็บ ซึ่งจุดทิ้งขยะทุกรูปแบบ เป็นการวางไว้บนทางเท้าซึ่งส่งผลให้ทางเท้าสกปรก น้ำนอง น้ำเน่าซึมลงใต้กระเบื้อง กระเบื้องดำเป็นวงกว้าง และจุด
เหล่านี้เมื่อขยะถูกเก็บไปก็ไม่มีการทำความสะอาด ทำให้ความสกปรกสะสมฝังรากลึก
ดังนั้น กทม.จะดำเนินการปรับปรุงทางเท้าเดิม โดย
1. ร่วมกับหน่วยงานเจ้าของสาธารณูปโภคเหล่านั้น หากสิ่งใดสามารถรื้อถอนได้จะดำเนินการรื้อออกให้หมด หากสิ่งใดยังต้องมีอยู่จะต้องปรับตำแหน่งให้ตามแบบที่กำหนด
2. ศึกษาข้อกฎหมายแนวกันสาดและแนวใต้ชายคา การใช้พื้นที่สาธารณะนอกตัวอาคาร ว่าสามารถใช้ได้ หรือไม่ได้และหาแนวทางออกร่วมกับประชาชนริมทางเท้า
3. ศึกษาการจัดการแนวระบบสาธารณูปโภคให้เป็นแนวเดียวกันและกำหนดแนวทางการเข้าบำรุงให้ชัดเจน เพื่อทางเท้าที่น่าเดินสำหรับทุกคน
4. รวบป้ายทั้งหมดที่ยังจำเป็นต้องมีอยู่ให้อยู่บนเสาเดียว ให้เหลือเสาน้อยที่สุด
5. ป้ายไหนผิดกฎหมายจะต้องรื้อออกไปทั้งหมด
6. ไม่มีการต่อใบอนุญาตป้ายโฆษณาอีกต่อไป
7. ปรับรูปแบบจุดทิ้งขยะให้เพียงพอต่อปริมาณการทิ้ง โดยปรับรูปแบบให้เป็นภาชนะที่มิดชิด ไม่ให้ความสกปรกแพร่กระจายลงสู่ทางเท้า
8. ดำเนินการกับผู้กระทำความผิดทั้งรื้อขยะและทิ้งไม่ลงถังเพื่อไม่ให้พฤติกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นอีกซ้ำซาก
9. ทำความสะอาดจุดทิ้งขยะและทางเท้าอย่างสม่ำเสมอเพราะทางเท้าจะเดินดีได้ต้องสะอาดด้วย
10. ดำเนินการให้ห้องแถวริมทางเท้าแก้ไขการทิ้งน้ำ ระบายน้ำจากอาคารลงสู่ทางเท้า ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 44 (พ.ศ. 2538) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
วัตถุประสงค์- ได้เมืองที่เป็นมิตรต่อการเดิน เนื่องจากอุปสรรคบนทางเท้าลดลง
เป้าหมายตรวจสอบพื้นที่ทางเท้ามีความเป็นระเบียบเรียบร้อยตามแนวทาง วิธีการเงื่อนไขหรือมาตรการที่กำหนด 3 ครั้ง/วัน
ผู้รับผิดชอบฝ่ายเทศกิจ
ผู้ตรวจประเมิน
หมายเหตุ(ไม่ได้ตั้ง)
นโยบาย ผว.
ค่าน้ำหนัก1
เป้าหมายโครงการ100 ร้อยละ
ผลการดำเนินการ80 ร้อยละ
หน่วยนับร้อยละ
อธิบายรายละเอียดความคืบหน้า
เป้าหมาย
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 280
ผลงานเดือนที่ 380
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 480
ผลงานเดือนที่ 580
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 7
ผลงานเดือนที่ 8
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 9
ผลงานเดือนที่ 10
ผลงานเดือนที่ 11
ผลงานเดือนที่ 12

ประวัติการปรับปรุงข้อมูล

วันที่ เวลา ชื่อผู้ใช้ กระทำ สอดคล้องตามนโยบาย เริ่มต้น สิ้นสุด เป้าหมาย ผลการดำเนินการ หน่วยนับ
ความคืบหน้าล่าสุด
วันที่รายงาน ความคืบหน้า สถานะโครงการ ปัญหาอปสรรค รายละเอียด
2023-01-31 60.0 1 ไม่มี 31/01/2566 : กำลังดำเนินการตรวจสอบพื้นที่ทางเท้ามีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
2023-02-20 64.0 1 ไม่มี 20/02/2566 : จัดเจ้าหน้าที่ชุดสายตรวจ ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบ กวดขัน ผู้ค้าตั้งวางกีดขวางที่สาธารณะ
2023-03-23 70.0 1 ไม่มี 23/03/2566 : ยกเลิกจุดผู้ค้านอกจุดผ่อนผันที่จำหน่ายสินค้าบนทางเท้าบริเวณปากซอยพุทธบูชา 46
2023-04-25 75.0 1 ไม่มี 25/04/2566 : จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบ กวดขันผู้ค้าบนทางเท้าอย่างต่อเนื่อง