ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : ของหน่วยงาน : 11000000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) ระบบรวบรวมและระบบบาบัดน้าเสียรวมมีขีด ความสามารถและประสิทธิภาพให้บริการอย่างเพียงพอ และทั่วถึง (ร้อยละของปริมาณน้าเสียชุมชนที่ได้รับการบาบัด, ร้อยละของพื้นที่กรุงเทพมหานครที่อยู่ในพื้นที่บริการ บาบัดน้าเสีย) (สจน.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ระบบรวบรวมและระบบบาบัดน้าเสียรวมมีขีด ความสามารถและประสิทธิภาพให้บริการอย่างเพียงพอ และทั่วถึง (ร้อยละของปริมาณน้าเสียชุมชนที่ได้รับการบาบัด, ร้อยละของพื้นที่กรุงเทพมหานครที่อยู่ในพื้นที่บริการ บาบัดน้าเสีย) (สจน.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :45.00

ผลงาน :45.44

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
45.44

100 / 100
2
43.72

100 / 100
3
43.72

100 / 100
4
43.72

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ปริมาณน้ำเสียตามที่ออกแบบของโรงควบคุมคณภาพน้ำขนาดใหญ่ 8 แห่งและโรงบำบัดน้ำเสียชุมชน12แห่ง เท่ากับ1,136,800 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นเทียบเท่ากับปริมาณน้ำประปา (ปี61) เท่ากับ 2,501,968 ลบ.ม./วัน ร้อยละของปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ได้รับการบำบัด เท่ากับ ร้อยละ 45.44

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ปริมาณน้ำเสียตามที่ออกแบบของโรงควบคุมคณภาพน้ำขนาดใหญ่ 8 แห่งและโรงบำบัดน้ำเสียชุมชน12แห่ง เท่ากับ1,136,800 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นเทียบเท่ากับปริมาณน้ำประปา (ปี62) เท่ากับ 2,600,092 ลบ.ม./วัน ร้อยละของปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ได้รับการบำบัด เท่ากับ ร้อยละ 43.72

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ปริมาณน้ำเสียตามที่ออกแบบของโรงควบคุมคณภาพน้ำขนาดใหญ่ 8 แห่งและโรงบำบัดน้ำเสียชุมชน12แห่ง เท่ากับ1,136,800 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นเทียบเท่ากับปริมาณน้ำประปา (ปี62) เท่ากับ 2,600,092 ลบ.ม./วัน ร้อยละของปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ได้รับการบำบัด เท่ากับ ร้อยละ 43.72

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ปริมาณน้ำเสียตามที่ออกแบบของโรงควบคุมคณภาพน้ำขนาดใหญ่ 8 แห่งและโรงบำบัดน้ำเสียชุมชน12แห่ง เท่ากับ1,136,800 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นเทียบเท่ากับปริมาณน้ำประปา (ปี62) เท่ากับ 2,600,092 ลบ.ม./วัน ร้อยละของปริมาณน้ำเสียชุมชนที่ได้รับการบำบัด เท่ากับ ร้อยละ 43.72

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) จุดตรวจวัดของน้าคลองและแม่น้าเจ้าพระยามีเพิ่มขึ้น (สจน.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
จุดตรวจวัดของน้าคลองและแม่น้าเจ้าพระยามีเพิ่มขึ้น (สจน.)

หน่วยนับ :จำนวนจุด

เป้าหมาย :305.00

ผลงาน :310.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวนจุด)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
310.00

100 / 100
2
310.00

100 / 100
3
310.00

100 / 100
4
310.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งกำหนดให้มีจุดเก็บตัวอย่างน้ำ เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพน้ำเป็นประจำทุกเดือน จำนวน 310 จุด (เดิม 305 จุด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งกำหนดให้มีจุดเก็บตัวอย่างน้ำ เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพน้ำเป็นประจำทุกเดือน จำนวน 310 จุด (เดิม 305 จุด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งกำหนดให้มีจุดเก็บตัวอย่างน้ำ เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพน้ำเป็นประจำทุกเดือน จำนวน 310 จุด (เดิม 305 จุด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งกำหนดให้มีจุดเก็บตัวอย่างน้ำ เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพน้ำเป็นประจำทุกเดือน จำนวน 310 จุด (เดิม 305 จุด)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) คุณภาพน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยาที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น (สจน.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
คุณภาพน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยาที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น (สจน.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :40.00

ผลงาน :55.50


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
42.90

100 / 100
2
49.10

100 / 100
3
56.10

100 / 100
4
55.50

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าออกซิเจนละลายน้ำ(DO) ไม่น้อยกว่า 2.0 มก./ลิตร เฉลี่ยไตรมาสที่ 1(ต.ค.-พ.ย.62) คิดเป็นร้อยละ 42.9 - จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าปริมาณความสกปรกในรูปของสารอินทรีย์(BOD)ไม่เกินกว่า 4.0 มก./ลิตร ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดินประเภทที่ 4 เฉลี่ยไตรมาสที่ 1(ต.ค.-พ.ย.62) คิดเป็นร้อยละ 18.7 - จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าแอมโมเนีย (NH3N)ไม่เกินกว่า 0.5 มก./ลิตร เฉลี่ยไตรมาสที่ 1(ต.ค.-พ.ย.62) คิดเป็นร้อยละ 14.8

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าออกซิเจนละลายน้ำ(DO) ไม่น้อยกว่า 2.0 มก./ลิตร เฉลี่ยสะสมถึงไตรมาสที่ 2(ต.ค.62-ก.พ.63) คิดเป็นร้อยละ 49.1 - จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าปริมาณความสกปรกในรูปของสารอินทรีย์(BOD)ไม่เกินกว่า 4.0 มก./ลิตร ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดินประเภทที่ 4 เฉลี่ยสะสมถึงไตรมาสที่ 2(ต.ค.62-ก.พ.63) คิดเป็นร้อยละ 12.5 - จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าแอมโมเนีย (NH3N)ไม่เกินกว่า 0.5 มก./ลิตร เฉลี่ยสะสมถึงไตรมาสที่ 2(ต.ค.62-ก.พ.63) คิดเป็นร้อยละ 14.0 ** 2 ** 49.08

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าออกซิเจนละลายน้ำ(DO) ไม่น้อยกว่า 2.0 มก./ลิตร เฉลี่ยสะสมถึงไตรมาสที่ 3(ต.ค.62-พ.ค.63) คิดเป็นร้อยละ 56.1 - จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าปริมาณความสกปรกในรูปของสารอินทรีย์(BOD)ไม่เกินกว่า 4.0 มก./ลิตร ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดินประเภทที่ 4 เฉลี่ยสะสมถึงไตรมาสที่ 3(ต.ค.62-พ.ค.63) คิดเป็นร้อยละ 1.6 - จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าแอมโมเนีย (NH3N)ไม่เกินกว่า 0.5 มก./ลิตร เฉลี่ยสะสมถึงไตรมาสที่ 3(ต.ค.62-มี.ค.63) คิดเป็นร้อยละ 5.8

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าออกซิเจนละลายน้ำ(DO) ไม่น้อยกว่า 2.0 มก./ลิตร เฉลี่ยสะสมถึงไตรมาสที่ 4(ต.ค.62-ส.ค.63) คิดเป็นร้อยละ 55.5 - จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าปริมาณความสกปรกในรูปของสารอินทรีย์(BOD)ไม่เกินกว่า 4.0 มก./ลิตร ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดินประเภทที่ 4 เฉลี่ยสะสมถึงไตรมาสที่ 4(ต.ค.62-ส.ค.63) คิดเป็นร้อยละ 2.9 - จุดตรวจวัดของน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าแอมโมเนีย (NH3N)ไม่เกินกว่า 0.5 มก./ลิตร เฉลี่ยสะสมถึงไตรมาสที่ 4(ต.ค.62-ส.ค.63) คิดเป็นร้อยละ 5.2

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) จำนวนผลงานการศึกษาวิจัยเพื่อส่งเสริมนวัตกรรมการจัดการคุณภาพน้ำ (สจน.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
จำนวนผลงานการศึกษาวิจัยเพื่อส่งเสริมนวัตกรรมการจัดการคุณภาพน้ำ (สจน.)

หน่วยนับ :เรื่อง

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(เรื่อง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-อยู่ระหว่างขั้นตอนศึกษาข้อมูลโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างขั้นตอนขออนุมัติโครงการ มกราคม 2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการศึกษารายงานที่เกี่ยวข้อง กุมภาพันธ์ 2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการศึกษารายงานที่เกี่ยวข้อง มีนาคม 2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนขออนุมัติโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-อยู่ระหว่างจัดทำ TOR และดำเนินการจัดเก็บข้อมูล เมษายน 2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนจัดทำ TOR พฤษภาคม 2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนจัดทำ TOR มิถุนายน 2563 : ดำเนินการจัดเก็บข้อมูล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- อยู่ระหว่างเตรียมอุปกรณ์วัสดุและทดสอบเครื่องกำเนิดไฟฟ้า กรกฎาคม 2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนดำเนินการจัดเก็บข้อมูล สิงหาคม 2563 : อยู่ระหว่างเตรียมอุปกรณ์วัสดุและทดสอบเครื่องกำเนิดไฟฟ้า กันยายน 2563 : อยู่ระหว่างเตรียมอุปกรณ์วัสดุและทดสอบเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(5) ร้อยละของปริมาณน้ำที่ผ่านการบำบัดถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์ (สจน.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ร้อยละของปริมาณน้ำที่ผ่านการบำบัดถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์  (สจน.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :6.40

ผลงาน :8.38


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.38

100 / 100
2
7.85

100 / 100
3
7.46

100 / 100
4
5.83

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ปริมาณน้ำเข้าระบบปีงบ 63(ต.ค.-พ.ย.62) เท่ากับ 45,305,526 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 3,796,910 ลบ.ม. เฉลี่ย 62,258 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.38

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ปริมาณน้ำเข้าระบบปีงบ 63(ต.ค.62 - ก.พ.63) เท่ากับ 120,332,157 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 9,414,578 ลบ.ม. เฉลี่ย 62,370 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 7.85

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ปริมาณน้ำเข้าปีงบ 63(ต.ค.62-พ.ค.ุ63) เท่ากับ 200,990,505 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 15,003,928 ลบ.ม. เฉลี่ย 61,768 ลบ.ม./วัน คิดร้อยละ7.46

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ปริมาณน้ำเข้าปีงบ 63(ต.ค.62-ส.ค.ุ63) เท่ากับ 280,976,593 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 20,247,952 ลบ.ม. เฉลี่ย 60,262 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 7.21

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(6) ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ใช้น้ำของกรุงเทพมหานครตามประเภทแหล่งกำเนิดน้ำเสีย (สจน.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ใช้น้ำของกรุงเทพมหานครตามประเภทแหล่งกำเนิดน้ำเสีย (สจน.)

หน่วยนับ :ฐานข้อมูล

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ฐานข้อมูล)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม จัดประชุมคณะกรรมการ TOR ของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลครั้งที่ 2 ระหว่างเดือนมกราคม - เดือนมีนาคม ลงนามในTOR

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลครั้งที่ 3 ระหว่างเดือนเมษายน - เดือนมิถุนายน อยู่ระหว่างเตรียมขออนุมัติ E-bidding

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-รายงานผลครั้งที่ 4 ระหว่างเดือนกรกฎาคม - เดือนกันยายน อยู่ระหว่างตรวจร่างสัญญา และจัดทำร่าง MOU ร่วมกับการประปานครหลวง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(7) ปริมาณน้ำเสียเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงเทียบกับปีฐาน (สจน.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ปริมาณน้ำเสียเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงเทียบกับปีฐาน (สจน.)

หน่วยนับ :ไม่เกินร้อยละ

เป้าหมาย :2.72

ผลงาน :3.92


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่เกินร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
3.92

100 / 100
3
3.92

100 / 100
4
3.92

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม รอข้อมูลน้ำประปาปีปัจจุบัน (2562) จากการประปานครหลวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ปริมาณน้ำเสียปี 2562 เท่ากับ 2,600,092 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำเสียปี 2561 เท่ากับ 2,501,968 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำเสียที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีฐาน ร้อยละ 3.92

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ปริมาณน้ำเสียปี 2562 เท่ากับ 2,600,092 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำเสียปี 2561 เท่ากับ 2,501,968 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำเสียที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีฐาน ร้อยละ 3.92

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ปริมาณน้ำเสียปี 2562 เท่ากับ 2,600,092 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำเสียปี 2561 เท่ากับ 2,501,968 ลบ.ม./วัน ปริมาณน้ำเสียที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีฐาน ร้อยละ 3.92

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(8) ระดับการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย (สจน)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ระดับการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย (สจน)

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :4.00

ผลงาน :1.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม อยู่ระหว่างเตรียมการขอสนับสนุนงบประมาณจากกระทรวงการคลัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลครั้งที่ 2 ระหว่างเดือนมกราคม - เดือนมีนาคม อยู่ระหว่างขั้นตอนส่งเอกสารโครงการเพื่อของบประมาณจากกองทุนส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (สคร.)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลครั้งที่ 3 ระหว่างเดือนเมษายน-เดือนมิถุนายน รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยเห็นชอบในหลักการแล้ว อยู่ระหว่างขั้นตอนการขอเห็นชอบการขอรับจัดสรรงบจากกองทุนส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (สคร.)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายงานผลครั้งที่ 4 ระหว่างเดือนกรกฎาคม-เดือนกันยายน อยู่ระหว่างดำเนินการขอรับจัดสรรงบจากกองทุนส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (สคร.)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(9) ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร (สจน.)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร (สจน.)

หน่วยนับ :ฐานข้อมูล

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ฐานข้อมูล)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานโครงการดังกล่าว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลครั้งที่ 2 ระหว่างเดือนมกราคม - เดือนมีนาคม จัดทำแบบสำรวจข้อมูล ะจัดประชุมซักซ้อมแนวทางการดำเนินงานร่วมกับสำนักงานเขต รวบรวมรายชื่อสถานประกอบการฯที่สำนักงานเขตจัดส่ง และสำนักงานเขตสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ตามแบบสำรวจแหล่งกำเนิดน้ำเสีย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลครั้งที่ 3 ระหว่างเดือนเมษายน - เดือนมิถุนายน สำนักงานเขตประชาสัมพันธ์และสำรวจข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่ เพื่อจัดส่งให้สำนักการระบายน้ำ ภายในเดือนส.ค.63 โดยสำนักการระบายน้ำทยอยจัดทำฐานข้อมูลในส่วนที่ได้รับรายงานจากสนข. (ขยายเวลาจากเดิมมิ.ย.เป็น ส.ค.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- รายงานผลครั้งที่ 4 ระหว่างเดือนกรกฎาคม - เดือนกันยายน สำนักงานเขตจัดส่งข้อมูลให้สำนักการระบายน้ำครบถ้วนทั้ง 50 เขต โดยสำนักการระบายน้ำเป็นผู้รวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(10) ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดงานประจำ (สจน.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดงานประจำ (สจน.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :92.65


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.39

100 / 100
2
45.43

100 / 100
3
68.76

100 / 100
4
92.65

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดงานประจำ (สจน.) จากจำนวน 16 โครงการ/กิจกรรม ระหว่างเดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม คือ 25.39

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดงานประจำ (สจน.) จากจำนวน 17 โครงการ/กิจกรรม ระหว่างเดือนมกราคม - เดือนมีนาคม คือ 45.43

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดงานประจำ (สจน.) จากจำนวน 17 โครงการ/กิจกรรม ระหว่างเดือนพฤษภาคม - เดือนมิถุนายน คือ 68.76

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดงานประจำ (สจน.) จากจำนวน 17 โครงการ/กิจกรรม ระหว่างเดือนกรกฎาคม - เดือนกันยายน คือ 92.65

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ

(11) ความสามารถในการป้องกันน้ำท่วมเนื่องจาก น้ำหลากและน้ำหนุน ที่ความสูง +3.00 ม.รทก. (ผลลัพธ์) (สพน.)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ความสามารถในการป้องกันน้ำท่วมเนื่องจาก น้ำหลากและน้ำหนุน ที่ความสูง +3.00 ม.รทก. (ผลลัพธ์) (สพน.)

หน่วยนับ :ร้อยละ...ของพื้นที่

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ...ของพื้นที่)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ความยาวริมแม่น้ำเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ มีความยาวรวม 86 กิโลเมตร ความยาวของเขื่อนถาวรที่ก่อสร้างได้ 76.8 กิโลเมตร จาก 77 กิโลเมตร และติดอุปสรรค 0.2 กิโลเมตร โดยส่วนที่ติดอุปสรรคได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย ส่วนที่ไม่สามารถดำเนินการก่อสร้างเขื่อนถาวรได้และส่วนริมน้ำที่เป็นพื้นที่เอกชนอีกประมาณ 9 กิโลเมตร ได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ความยาวริมแม่น้ำเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ มีความยาวรวม 86 กิโลเมตร ความยาวของเขื่อนถาวรที่ก่อสร้างได้ 76.8 กิโลเมตร จาก 77 กิโลเมตร และติดอุปสรรค 0.2 กิโลเมตร โดยส่วนที่ติดอุปสรรคได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย ส่วนที่ไม่สามารถดำเนินการก่อสร้างเขื่อนถาวรได้และส่วนริมน้ำที่เป็นพื้นที่เอกชนอีกประมาณ 9 กิโลเมตร ได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ความยาวริมแม่น้ำเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ มีความยาวรวม 86 กิโลเมตร ความยาวของเขื่อนถาวรที่ก่อสร้างได้ 76.8 กิโลเมตร จาก 77 กิโลเมตร และติดอุปสรรค 0.2 กิโลเมตร โดยส่วนที่ติดอุปสรรคได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย ส่วนที่ไม่สามารถดำเนินการก่อสร้างเขื่อนถาวรได้และส่วนริมน้ำที่เป็นพื้นที่เอกชนอีกประมาณ 9 กิโลเมตร ได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ความยาวริมแม่น้ำเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ มีความยาวรวม 86 กิโลเมตร ความยาวของเขื่อนถาวรที่ก่อสร้างได้ 76.8 กิโลเมตร จาก 77 กิโลเมตร และติดอุปสรรค 0.2 กิโลเมตร โดยส่วนที่ติดอุปสรรคได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย ส่วนที่ไม่สามารถดำเนินการก่อสร้างเขื่อนถาวรได้และส่วนริมน้ำที่เป็นพื้นที่เอกชนอีกประมาณ 9 กิโลเมตร ได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(12) ร้อยละของการก่อสร้างแนวคันหิน (Groins) ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง (สพน.) (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ร้อยละของการก่อสร้างแนวคันหิน  (Groins) ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง (สพน.) (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ยังไม่ได้รับงบประมาณปี 2563 ในการดำเนินการโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ยังไม่ได้รับงบประมาณปี 2563 ในการดำเนินการโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ยังไม่ได้รับงบประมาณปี 2563 ในการดำเนินการโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--ยังไม่ได้รับงบประมาณปี 2563 ในการดำเนินการโครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(13) ร้อยละความสำเร็จในการก่อสร้างพื้นที่เพื่อพัฒนาฟื้นฟูให้เป็นแหล่งรองรับน้ำฝนและน้ำหลากหรือพื้นที่ชะลอน้ำ (แก้มลิง) (ผลผลิต) (สพน.)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ร้อยละความสำเร็จในการก่อสร้างพื้นที่เพื่อพัฒนาฟื้นฟูให้เป็นแหล่งรองรับน้ำฝนและน้ำหลากหรือพื้นที่ชะลอน้ำ (แก้มลิง) (ผลผลิต) (สพน.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :88.30


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
60.00

100 / 100
2
66.50

100 / 100
3
81.91

100 / 100
4
88.30

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โครงการก่อสร้างแก้มลิงเบญจกิติ อยู่ระหว่างก่อสร้างสถานีสูบน้ำ เตรียมงานตอกเสาเข็มและวางท่อขนส่งน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างก่อสร้างสถานีสูบน้ำ -อยู่ระหว่างตอกเสาเข็ม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-อยู่ระหว่างตอกเสาเข็ม -ติดตั้งแผงกันดิน บน - ล่าง -ขุดลอกพร้อมขนย้าย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-อยู่ระหว่างตอกเสาเข็ม -ติดตั้งแผงกันดิน บน - ล่าง -ขุดลอกพร้อมขนย้าย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(14) ความยาวคลองที่ได้รับการบำรุงรักษาให้สามารถรองรับและระบายน้ำได้ดี (ผลผลิต) (กรบ.)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ความยาวคลองที่ได้รับการบำรุงรักษาให้สามารถรองรับและระบายน้ำได้ดี (ผลผลิต) (กรบ.)

หน่วยนับ :กิโลเมตร

เป้าหมาย :240.00

ผลงาน :88.45


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(กิโลเมตร)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
40.21

100 / 100
2
41.78

100 / 100
3
83.81

100 / 100
4
88.45

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกโครงการสามารถดำเนินการได้ร้อยละ 40.21 (อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอจัดทำราคากลาง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ทุกโครงการสามารถดำเนินการได้ร้อยละ 41.78 (อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอจัดทำราคากลาง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ทุกโครงการสามารถดำเนินการได้ร้อยละ 83.81 (อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอจัดทำราคากลาง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ทุกโครงการสามารถดำเนินการได้ร้อยละ 88.45 (อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอจัดทำราคากลาง)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(15) ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลัก ที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก(ผลลัพธ์) (กสน.)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลัก ที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก(ผลลัพธ์) (กสน.)

หน่วยนับ :ไม่เกิน...นาที

เป้าหมาย :150.00

ผลงาน :56.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่เกิน...นาที)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
56.00

100 / 100
2
15.00

100 / 100
3
112.00

100 / 100
4
38.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกโครงการที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ทุกโครงการที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ทุกโครงการที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ทุกโครงการที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(16) จำนวนระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการบริหารจัดการน้ำของกรุงเทพมหานคร (ผลผลิต) (กสน.)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
จำนวนระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการบริหารจัดการน้ำของกรุงเทพมหานคร (ผลผลิต) (กสน.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :50.00

ผลงาน :71.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
35.00

100 / 100
2
43.00

100 / 100
3
55.30

100 / 100
4
71.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกโครงการสามารถดำเนินงานได้ตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ทุกโครงการสามารถดำเนินงานได้ตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ทุกโครงการสามารถดำเนินงานได้ตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ปรับปรุงอาคารสถานีเรดาร์ตรวจอากาศ 2 แห่งแล้วเสร็จ - โครงการจัดทำและพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเชิงรุกอยู่ระหว่างขั้นตอนขออนุมัติจ้าง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(17) จำนวนคลองหลักที่มีการจัดการสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำ และปักแนวเขตลำคลองสาธารณะ (ผลลัพท์) (กรบ.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
จำนวนคลองหลักที่มีการจัดการสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำ และปักแนวเขตลำคลองสาธารณะ (ผลลัพท์) (กรบ.)

หน่วยนับ :คลอง

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :2.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(คลอง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
2.00

100 / 100
3
2.00

100 / 100
4
2.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทั้ง 2 โครงการสามารถดำเนินการได้ร้อยละ 30 (อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอจัดทำราคากลาง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ทั้ง 2 โครงการสามารถดำเนินการได้ร้อยละ 43.5 (อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอจัดทำราคากลาง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ทั้ง 2 โครงการสามารถดำเนินการได้ร้อยละ 52.16 (อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอจัดทำราคากลาง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ทั้ง 2 โครงการสามารถดดำเนินการได้ร้อยละ 58.37 (อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอจัดทำราคากลาง)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(18) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย (กคจ./กรท./กสน./สก.สนน.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย (กคจ./กรท./กสน./สก.สนน.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :98.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
23.73

100 / 100
2
73.23

100 / 100
3
98.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ลำดับที่ 1 ดำเนินการการจัดเตรียมเครื่องสูบน้ำพร้อมอุปกรณ์ สำหรับการสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขต ลำดับที่ 2 ดำเนินการจัดเตรียมเครื่องสูบน้ำพร้อมอุปกรณ์ เครื่องมือ และเครื่องจักรกล สำหรับการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี ลำดับที่ 3 ดำเนินการการจัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องจักรกล โดยการซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกลแล้วเสร็จ 80 งาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ลำดับที่ 1 สัมมนาและดูงานด้านการจัดการองค์กรเพื่อการพัฒนาบุคลากร (สก.สนน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 2 งานจ้างเหมาจัดทำวีดิทัศน์แนะนำสำนักการระบายน้ำ (กสน.) - อยู่ระหว่างขั้นตอนการแก้ไขบท ลำดับที่ 3 การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขต (กคจ.) - อยู่ระหว่างขั้นตอนการสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขต สนับสนุนแล้วจำนวน 60 เครื่อง ลำดับที่ 4 การติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี (กคจ.) - อยู่ระหว่างขั้นตอนการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำ ตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี แล้วเสร็จจำนวน 110 จุด ลำดับที่ 5 การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล (กคจ.) - อยู่ระหว่างขั้นตอนการซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ และเครื่องจักรกล แล้วเสร็จ จำนวน 265 งาน ลำดับที่ 6 สัมมนาและดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการป้องกันน้ำท่วมและการจัดการคุณภาพน้ำ (กสน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 7 โครงการศึกษาดูงานบูรณาการข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการน้ำของกรุงเทพมหานคร (กสน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 8 ค่าจ้างเหมาล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ (กรท.) - อยู่ระหว่างขั้นตอนล้างท่อระบายน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ลำดับที่ 1 สัมมนาและดูงานด้านการจัดการองค์กรเพื่อการพัฒนาบุคลากร (สก.สนน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 2 งานจ้างเหมาจัดทำวีดิทัศน์แนะนำสำนักการระบายน้ำ (กสน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 3 การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขต (กคจ.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 4 การติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี (กคจ.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 5 การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล (กคจ.) - อยู่ระหว่างขั้นตอนการซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ และเครื่องจักรกล แล้วเสร็จ จำนวน 480 งาน จากเป้าหมาย จำนวน 500 งาน ลำดับที่ 6 สัมมนาและดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการป้องกันน้ำท่วมและการจัดการคุณภาพน้ำ (กสน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 7 โครงการศึกษาดูงานบูรณาการข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการน้ำของกรุงเทพมหานคร (กสน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 8 ค่าจ้างเหมาล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ (กรท.) - อยู่ระหว่างขั้นตอนล้างท่อระบายน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ลำดับที่ 1 สัมมนาและดูงานด้านการจัดการองค์กรเพื่อการพัฒนาบุคลากร (สก.สนน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 2 งานจ้างเหมาจัดทำวีดิทัศน์แนะนำสำนักการระบายน้ำ (กสน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 3 การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขต (กคจ.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 4 การติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี (กคจ.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 5 การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล (กคจ.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 6 สัมมนาและดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการป้องกันน้ำท่วมและการจัดการคุณภาพน้ำ (กสน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 7 โครงการศึกษาดูงานบูรณาการข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการน้ำของกรุงเทพมหานคร (กสน.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ ลำดับที่ 8 ค่าจ้างเหมาล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ (กรท.) - ดำเนินการแล้วเสร็จ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด