ค่าเป้าหมาย ระดับ : 4
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจาก บก.จร. มีความคิดเห็นต่างในการสนับสนุนให้มีทางจักรยานเพราะไม่ปลอดภัยบนผิวถนนต่อผู้ขับขี่จักรยาน
ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจาก บก.จร. มีความคิดเห็นต่างในการสนับสนุนให้มีทางจักรยานเพราะไม่ปลอดภัยบนผิวถนน ต่อผู้ขับขี่จักรยาน
ยกเลิกโครงการเนื่องจาก บก.จร. มีความคิดเห็นต่างในการสนับสนุนให้มีทางจักรยาน เพราะไม่มีความปลอดภัย
-
การรณรงค์ให้ประชาชนหันมาใช้จักรยานเป็นพาหนะในการเดินทาง เพื่อใช้เป็นการเดินทางทางเลือกเพื่อการสัญจรไปมา และการเข้าสู่ระบบขนส่งมวลชน เป็นประเด็นที่สำนักการจราจรและขนส่งได้ให้ความสำคัญเป็นลำดับต้น ๆ และได้มีการดำเนินการโดยการประชาสัมพันธ์ การจัดทำเส้นทางสำหรับจักรยาน แต่ที่ผ่านมานั้นพบว่ามีปัญหาที่ต้องนำมาพิจารณาในหลายประการ ซึ่งหากในอนาคตจำนวนผู้ใช้จักรยานจะมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น สำนักการจราจรและขนส่งจำเป็นที่จะต้องเตรียมความพร้อมในการจัดระเบียบการสัญจรด้วยจักรยาน โดยมีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้ 1. ศึกษาและทำความเข้าใจทฤษฎี นโยบาย รวบรวมข้อกำหนด ระเบียบ หลักเกณฑ์ต่างๆ จากหน่วยงานต่าง ๆ 2. วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค ตลอดจนปัจจัยเอื้อต่อการใช้จักรยานเป็นพาหนะสัญจร 3. แนวทางการแก้ไขปัญหาตลอดจนวิธีการส่งเสริมให้ประชาชนหันมาใช้จักรยานเพื่อสัญจรหรือเข้าสู่ระบบขนส่งมวลชน 4. ทบทวนกฎหมายหรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง โดยรวบรวมที่ควรเพิ่มเติมหรือปรับปรุงแก้ไข ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน เพื่อเป็นการสนับสนุนและรองรับการใช้จักรยานของประชาชนในการเดินทางได้อย่างสะดวกปลอดภัย 5. บูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. กรุงเทพมหานครมีกฎหมายหรือข้อบังคับเพื่อการใช้จักรยานของประชาชนที่เหมาะสม
ดำเนินการตามแนวทางการดำเนินงาน และมีผลการดำเนินงานในรูปแบบเอกสารรายงาน ตามข้อ 1 - 6
-
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๓ - ระบบขนส่งมวลชนทั่วถึง สะดวกประหยัด การจราจรคล่องตัวและมีทางเลือก |
:๒.๓.๑ ประชาชนเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะ มีทางเลือกในการเดินทางไม่ต้องพึ่งพารถส่วนบุคคล% |
:๒.๓.๑.๒ เพิ่มเส้นทางจักรยานให้มีความสะดวกและทั่วถึง |