รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 : 5034-0938

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 30

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 35.14

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 90

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.27
100
100 / 100
2
17.55
90
90 / 100
3
25.30
90
90 / 100
4
35.14
90
95 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.กิจกรรมเก็บของเหลือใช้ โดยนำของเหลือใช้ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า เสื้อผ้า โต๊ะ เก้าอี้ มาซ่อมแซมเพื่อใช้ประโยชน์ใหม่ 2.ขยะเศษอาหารเปลือกผลไม้ เศษผัก หมักทำปุ๋ยใช้ในพื้นที่เขต และน้ำหมักชีวภาพแจกจ่ายประชาชน 3.จัดเก็บและประชาสัมพันธ์สถานประกอบการร่วมคัดแยกขยะรีไซเคิล เพื่อร่วมโครงการ “วน” 4.จัดเก็บ ประชาสัมพันธ์สถานประกอบการ ร้านอาหาร ให้ความร่วมมือคัดแยกฝาขวดน้ำดื่มที่มีส่วนประกอบของอะลูมิเนียม เพื่อคัดแยกและรวบรวมให้มูลนิธิเพื่อจัดทำขาเทียม 5.ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครและเอกชน คัดแยกกล่องเครื่องดื่มยูเฮชทีเพื่อรวมรวมทำหลังคาเขียว 6.ขอความร่วมมือคนงานเก็บขนมูลฝอยจัดเก็บขยะรีไซเคิลเพื่อรวบรวมในกิจกรรมผ้าป่ารีไซเคิล 7.ขอความร่วมมือสถานประกอบการเพื่อคัดแยกถุงพลาสติกที่ใช้แล้ว นำมาล้างทำความสะอาดเพื่อใช้ในกิจกรรมของสำนักงานเขต เช่น เก็บขยะ ใส่ของ 8.ร่วมกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ เพื่อขอความร่วมมือร้านขายอาหาร นำเศษอาหาร เศษผัก ที่เหลือใช้กับเกษตรกรในพื้นที่ นำมาเลี้ยงสัตว์ เช่น แพะ สุกร โค ปลา 9.ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ลงพื้นที่สาธิตการคัดแยกขยะตามหลัก 3 R แก่ ชุมชนสุเหร่าจรเข้ขบ ชุมชนริมคลองประเวศฝั่งเหนือ บริษัท สยามไดกิ้นเชลล์ จำกัด เพื่อกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายคัดแยกขยะให้ถูกต้อง และขยะรีไซเคิลสามารถจำหน่ายเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน 10.อาสาสมัครชักลากมูลฝอย จำนวน 14 ชุมชน คัดแยกขยะรีไซเคิล ออกจากขยะทั่วไป เพื่อจำหน่ายเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.กิจกรรมเก็บของเหลือใช้ โดยนำของเหลือใช้ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า เสื้อผ้า โต๊ะ เก้าอี้ มาซ่อมแซมเพื่อใช้ประโยชน์ใหม่ 2.ขยะเศษอาหารเปลือกผลไม้ เศษผัก หมักทำปุ๋ยใช้ในพื้นที่เขต และน้ำหมักชีวภาพแจกจ่ายประชาชน 3.จัดเก็บและประชาสัมพันธ์สถานประกอบการร่วมคัดแยกขยะรีไซเคิล เพื่อร่วมโครงการ “วน” 4.จัดเก็บ ประชาสัมพันธ์สถานประกอบการ ร้านอาหาร ให้ความร่วมมือคัดแยกฝาขวดน้ำดื่มที่มีส่วนประกอบของอะลูมิเนียม เพื่อคัดแยกและรวบรวมให้มูลนิธิเพื่อจัดทำขาเทียม 5.ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครและเอกชน คัดแยกกล่องเครื่องดื่มยูเฮชทีเพื่อรวมรวมทำหลังคาเขียว 6.ขอความร่วมมือคนงานเก็บขนมูลฝอยจัดเก็บขยะรีไซเคิลเพื่อรวบรวมในกิจกรรมผ้าป่ารีไซเคิล 7.ขอความร่วมมือสถานประกอบการเพื่อคัดแยกถุงพลาสติกที่ใช้แล้ว นำมาล้างทำความสะอาดเพื่อใช้ในกิจกรรมของสำนักงานเขต เช่น เก็บขยะ ใส่ของ 8.ร่วมกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ เพื่อขอความร่วมมือร้านขายอาหาร นำเศษอาหาร เศษผัก ที่เหลือใช้กับเกษตรกรในพื้นที่ นำมาเลี้ยงสัตว์ เช่น แพะ สุกร โค ปลา 9.ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ลงพื้นที่สาธิตการคัดแยกขยะตามหลัก 3 R แก่ ชุมชนเปรมฤทัย 20 เพื่อกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายคัดแยกขยะให้ถูกต้อง และขยะรีไซเคิลสามารถจำหน่ายเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน 10.อาสาสมัครชักลากมูลฝอย จำนวน 14 ชุมชน คัดแยกขยะรีไซเคิล ออกจากขยะทั่วไป เพื่อจำหน่ายเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน รวมปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 22.75 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.กิจกรรมเก็บของเหลือใช้ โดยนำของเหลือใช้ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า เสื้อผ้า โต๊ะ เก้าอี้ มาซ่อมแซมเพื่อใช้ประโยชน์ใหม่ 2.ขยะเศษอาหารเปลือกผลไม้ เศษผัก หมักทำปุ๋ยใช้ในพื้นที่เขต และน้ำหมักชีวภาพแจกจ่ายประชาชน 3.จัดเก็บและประชาสัมพันธ์สถานประกอบการร่วมคัดแยกขยะรีไซเคิล เพื่อร่วมโครงการ “วน” 4.จัดเก็บ ประชาสัมพันธ์สถานประกอบการ ร้านอาหาร ให้ความร่วมมือคัดแยกฝาขวดน้ำดื่มที่มีส่วนประกอบของอะลูมิเนียม เพื่อคัดแยกและรวบรวมให้มูลนิธิเพื่อจัดทำขาเทียม 5.ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครและเอกชน คัดแยกกล่องเครื่องดื่มยูเฮชทีเพื่อรวมรวมทำหลังคาเขียว 6.ขอความร่วมมือคนงานเก็บขนมูลฝอยจัดเก็บขยะรีไซเคิลเพื่อรวบรวมในกิจกรรมผ้าป่ารีไซเคิล 7.ขอความร่วมมือสถานประกอบการเพื่อคัดแยกถุงพลาสติกที่ใช้แล้ว นำมาล้างทำความสะอาดเพื่อใช้ในกิจกรรมของสำนักงานเขต เช่น เก็บขยะ ใส่ของ 8.ร่วมกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ เพื่อขอความร่วมมือร้านขายอาหาร นำเศษอาหาร เศษผัก ที่เหลือใช้กับเกษตรกรในพื้นที่ นำมาเลี้ยงสัตว์ เช่น แพะ สุกร โค ปลา 9.ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ลงพื้นที่สาธิตการคัดแยกขยะตามหลัก 3 R แก่ ชุมชนเปรมฤทัย 20 เพื่อกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายคัดแยกขยะให้ถูกต้อง และขยะรีไซเคิลสามารถจำหน่ายเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน 10.อาสาสมัครชักลากมูลฝอย จำนวน 14 ชุมชน คัดแยกขยะรีไซเคิล ออกจากขยะทั่วไป เพื่อจำหน่ายเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน รวมปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 31.67 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.กิจกรรมเก็บของเหลือใช้ โดยนำของเหลือใช้ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า เสื้อผ้า โต๊ะ เก้าอี้ มาซ่อมแซมเพื่อใช้ประโยชน์ใหม่ ณ โรงเรียนสุเหร่าทางควาย 2.ประชาสัมพันธ์สถานประกอบการร่วมคัดแยกขยะรีไซเคิล เพื่อร่วมโครงการ “วน” 3.ประชาสัมพันธ์สถานประกอบการ ร้านอาหาร ร้านขายน้ำ ให้ความร่วมมือคัดแยกฝาขวดน้ำดื่มที่มีส่วนประกอบของอะลูมิเนียม เพื่อคัดแยกและรวบรวมให้มูลนิธิเพื่อจัดทำขาเทียม 4.ประชาสัมพันธ์โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครและเอกชน คัดแยกกล่องเครื่องดื่มยูเอชทีเพื่อรวมรวมทำหลังคาเขียว 5.จัดเจ้าหน้าที่แจกประกาศเพื่อประชาสัมพันธ์นัดทิ้งนัดเก็บขยะ และแยกการทิ้งขยะติดเชื้อออกจากขยะทั่วไป ณ ชุมชนเปรมฤทัย 20 6.ขอความร่วมมือสถานประกอบการเพื่อคัดแยกถุงพลาสติกที่ใช้แล้ว นำมาล้างทำความสะอาดเพื่อใช้ในกิจกรรมของสำนักงานเขต เช่น เก็บขยะ ใส่ของ 7.ร่วมกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล เพื่อขอความร่วมมือร้านขายอาหาร นำเศษอาหาร เศษผัก ที่เหลือใช้กับเกษตรกรในพื้นที่ นำมาเลี้ยงสัตว์ เช่น แพะ สุกร โค ปลา 8.ลงพื้นที่สาธิตการคัดแยกขยะตามหลัก 3 R ในชุมชนต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายคัดแยกขยะให้ถูกต้อง และขยะรีไซเคิลสามารถจำหน่ายเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน 9.ติดตามโครงการหมู่บ้านที่สร้างจุดพักขยะ และติดตามผลการคัดแยกขยะรีไซเคิลเพื่อจำหน่าย รวมทั้งกำหนดจุดให้ทิ้งขยะอันตราย 10.คัดแยกถุงพลาสติกเหลือใช้จากบริษัทผู้ผลิตน้ำส้ม นำมาล้างทำความสะอาดและสามารถนำถุงพลาสติกกลับมาใช้การกิจกรรมพัฒนาพื้นที่ 11.ดำเนินการประชาสัมพันธ์ภายในสำนักงานเขตลดปริมาณขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง โดยคัดแยกขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย ออกจากขยะทั่วไป 12.ดำเนินการประชาสัมพันธ์ภายในสำนักงานเขต ลด ละ เลิก การใช้ถุงพลาสติก โดยได้จัดมุมให้ข้าราชการ ลูกจ้าง ยืมถุงผ้า ได้ที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ 13.เปิดจุดรับพลาสติกที่ใช้แล้ว ภายใต้โครงการ แยก ขวด ช่วยหมอ ณ สำนักงานเขตประเวศ และวัดทุ่งเศรษฐี

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1.มูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิด หมายถึง มูลฝอยที่สามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้ซึ่งคัดแยกจากบ้านเรือน ชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน ตลาด สถานประกอบการ ห้างสรรพสินค้า ฯลฯ 2.นำไปใช้ประโยชน์ หมายถึง การนำมูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติของมูลฝอย เช่น ขาย ทำปุ๋ยหมัก เลี้ยงสัตว์ แปรรูป ถมที่ ฯลฯ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เท่ากับปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี256๔ลบ ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 หาร ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 คูณ 100 (ปริมาณมูลฝอยตั้งแต่ ต.ค.63 - ก.ย. 64)

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1.รายงานผลตามแบบประเมินที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 2.แบบรายงานการเก็บรวบรวมปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ประจำปี 2564 3.ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ
:๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ%
:๑.๑.๒.๑ ลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง