ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวฑัณธิมา สุวรรณพันธ์,นางสาวสุปราณี สมัครการ 6215
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
จากการดำเนินงานโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยในรอบ 9 ปีที่ผ่านมา ในภาพรวมพบว่า สถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารของกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มลดลง โดยสถิติการปนเปื้อนทั้งสารเคมีอันตรายและเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหารในปี พ.ศ. 2549 - 2553 พบร้อยละ 3.6, 6.2, 8.0, 4.8 และ 2.9 ตามลำดับ และในปี 2554 พบว่าอัตราการปนเปื้อนสูงขึ้นเล็กน้อย คือ ร้อยละ 3.9 โดยสาเหตุหลักที่ทำให้พบอัตราการปนเปื้อนที่สูงขึ้นคือ การปนเปื้อนด้านจุลินทรีย์ในอาหาร สอดคล้องกับอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันต่อประชากรแสนคนในกรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่ามีแนวโน้มลดลงเช่นกัน โดยพบว่าในปี พ.ศ. 2549 - 2553 พบอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 847.12, 849.50, 821.85 และ 715.9 ตามลำดับ และลดลงเหลือ 702.07 ในปี 2553 อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานคร จะมีแนวโน้มที่ดีขึ้นก็ตาม แต่เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครสูงสุด สำนักงานเขตบางรักจึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2563 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร ทั้งผู้พักอาศัย ผู้ประกอบการ รวมถึงนักท่องเที่ยว ที่จะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการได้บริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย
50040400/50040400
1. เพื่อปรับปรุงยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินและร้องเรียนด้านอาหาร 4. เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์และวิสัยทัศน์ด้านอาหารปลอดภัยให้กว้างไกลและเหมาะสมกับสถานการณ์ และพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้เพื่อคุณภาพงานด้านอาหารปลอดภัย 5. เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 6. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหาร ที่สะอาดปลอดภัย
1. ร้อยละ 90 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคหรือสารพิษ 2. ร้อยละ 100 ของความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-09-18)
ดำเนินการโครงการสุขาภิบาลอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2563 แล้วเสร็จเป็นที่เรียบร้อย
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2020-08-26)
1. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร มินิมาร์ท แผงลอย ซุปเปอร์มาเก็ต และตลาด ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 99 ร้าน 2. ตรวจประเมินป้ายรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย 3. ตรวจติดตามสถานประกอบการจำหน่ายอาหารที่ได้รับการผ่อนปรน ตามมาตรการโควิด-19
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2020-07-29)
1. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร มินิมาร์ท แผงลอย ซุปเปอร์มาเก็ต และตลาด ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 153 ร้าน 2. ตรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน 12 โรงเรียน 3. ตรวจประเมินป้ายรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย 4. ตรวจติดตามสถานประกอบการจำหน่ายอาหารที่ได้รับการผ่อนปรน ตามมาตรการโควิด-19
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2020-06-26)
1. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร มินิมาร์ท แผงลอย ซุปเปอร์มาเก็ต และตลาด ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 120 ร้าน 2. ตรวจประเมินป้ายรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย 3. ตรวจติดตามสถานประกอบการจำหน่ายอาหารที่ได้รับการผ่อนปรน ตามมาตรการโควิด-19
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 0.00 (2020-05-29)
-
** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้สถานประกอบการมีการปิดชั่วคราว อีกทั้งยังมีภารกิจที่ต้องตรวจติดตามตามมาตรการที่ได้รับการผ่อนปรน ของกรุงเทพมหานคร และทางสำนักอนามัยได้มีหนังสือให้ชะลอการขอป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จึงยังไม่ได้มีการดำเนินการดังกล่าว
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2020-04-20)
1.ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร มินิมาร์ท แผงลอย ซุปเปอร์มาเก็ต และตลาด ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 10 ร้าน 2.รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตามแบบรายงานที่กำหนด ประจำเดือนเมษายน 2563 3.ตรวจประเมินป้ายรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย 4.ประชาสัมพันธ์สื่อเกี่ยวกับการป้องกันโควิด-19 ในสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร
** ปัญหาของโครงการ :- เนื่องจากอยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ทำให้สถานประกอบการจำหน่ายอาหารบางรายปิดทำการชั่วคราว จึงไม่สามารถเข้าตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหารได้
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2020-03-20)
20/3/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร มินิมาร์ท แผงลอย ซุปเปอร์มาเก็ต และตลาด ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 80 ร้าน 2. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารส่งห้องปฏิบัติการ 3. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตามแบบรายงานที่กำหนด ประจำเดือน มีนาคม 2563 4. ตรวจประเมินป้ายรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2020-02-20)
20/2/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร มินิมาร์ท แผงลอย ซุปเปอร์มาเก็ต และตลาด ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 50 ร้าน 2. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารส่งห้องปฏิบัติการ 3. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตามแบบรายงานที่กำหนด ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563 4. ตรวจประเมินป้ายรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย 5. จัดประชุมเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน ครั้งที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2563
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2020-01-20)
20/1/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร มินิมาร์ท แผงลอย ซุปเปอร์มาเก็ต และตลาด ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 50 ร้าน 2. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารส่งห้องปฏิบัติการ 3. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตามแบบรายงานที่กำหนด ประจำเดือนมกราคม 2563 4. ตรวจประเมินป้ายรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2019-12-24)
24/12/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร มินิมาร์ท แผงลอย ซุปเปอร์มาเก็ต และตลาด ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 50 ร้าน 2. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารส่งห้องปฏิบัติการ 3. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตามแบบรายงานที่กำหนด ประจำเดือนธันวาคม 2562 4. ตรวจประเมินป้ายรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย 5. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในพื้นที่เขตบางรัก
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2019-11-29)
29/11/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร มินิมาร์ท แผงลอย ซุปเปอร์มาเก็ต และตลาด ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 60 ร้าน 2. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารส่งห้องปฏิบัติการ 3. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตามแบบรายงานที่กำหนด ประจำเดือนตุลาคม 4. ตรวจประเมินป้ายรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย 5. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในพื้นที่เขตบางรัก
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2019-10-24)
24/10/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน 1. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เพื่อตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะรองรับอาหาร จากสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร มินิมาร์ท แผงลอย ซุปเปอร์มาเก็ต และตลาด ในพื้นที่เขตบางรัก จำนวน 75 ร้าน 2. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารส่งห้องปฏิบัติการ 3 รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ตามแบบรายงานที่กำหนด ประจำเดือนตุลาคม 4. ตรวจประเมินป้ายรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย 5. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในพื้นที่เขตบางรัก
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **