ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : ของหน่วยงาน : 50130000

Home Home SED


**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

(1) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกฝ่ายเร่งรัดการดำเนินงานโครงการงานประจำเป็นไปตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกฝ่ายเร่งรัดการดำเนินงานโครงการงานประจำเป็นไปตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกฝ่ายเร่งรัดการดำเนินงานโครงการงานประจำเป็นไปตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกฝ่ายเร่งรัดการดำเนินงานโครงการงานประจำเป็นไปตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ทุกฝ่ายดำเนินโครงการงานประจำที่รับผิดชอบตามขั้นตอนที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(5) ตัวชี้วัดที่ 1 (ตัวชี้วัดเจรจา 1)ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ตัวชี้วัดที่ 1 (ตัวชี้วัดเจรจา 1)ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ฐานข้อมูล

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ฐานข้อมูล)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.ประสานสำนัการระบายน้ำ แจ้งจำนวนสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียพื้นที่เขตมีนบุรี 102 ราย 2.ประสานขอข้อมูลสถานประกอบการฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-สำรวจแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 52 แห่ง คิดเป็นร้อยละ51 -ประชาสัมพันธ์สถานประกอบการเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าบำบัดน้ำเสีย จำนวน 102 แห่ง คิดเป็นร้อยละ100 ตามหนังสือที่ กท5204/7550ลงวันที่15พฤศจิกายน2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-สำรวจแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 80 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.43 -ประชาสัมพันธ์สถานประกอบการเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าบำบัดน้ำเสีย จำนวน 102 แห่ง คิดเป็นร้อยละ100 ตามหนังสือที่ กท5204/7550ลงวันที่15พฤศจิกายน2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำรวจแหล่งกำเนิดน้ำเสีย 99 แห่ง (จากเป้าหมาย 102 แห่งแจ้งเลิกกิจการ 3 แห่ง ) คิดเป็นร้อยละ 100 -ประชาสัมพันธ์สถานประกอบการเกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าบำบัดน้ำเสีย จำนวน 99 แห่ง คิดเป็นร้อยละ100 ตามหนังสือที่ กท5204/7550 ลงวันที่15พฤศจิกายน2562

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(6) ตัวชี้วัดที่ 2 (ตัวชี้วัดเจรจา 2) การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด ตัวชี้วัดที่ 2.1 : ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ตัวชี้วัดที่ 2 (ตัวชี้วัดเจรจา 2) การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด
ตัวชี้วัดที่ 2.1 : ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :15.00

ผลงาน :16.86


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
4.14

100 / 100
2
4.66

100 / 100
3
4.46

0 / 0
4
16.86

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ ฯลฯ โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน เพื่อนำไปคัดแยกขยะในบ้านเรือนและชุมชนในการทำน้ำขยะหอม, นำไปรีไซเคิลหรือนำไปขายร้านรับซื้อของเก่า, คัดแยกขยะอันตรายในการทิ้งให้ถูกประเภท มีการจัดการมูลฝอยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำมาใช้ประโยชน์ - เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 395.90 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2562 จำนวน 422.20 ตัน - เดือนธันวาคม 2562 จำนวน 534 ตัน รวมจัดเก็บขยะอินทรีย์ 1352.10 ตัน 2.ปริมาณขยะที่นำมาใช้ประโยชน์ - เดือนตุลาคม -ธันวาคม 2562 จัดเก็บได้จำนวน 5170.55 ตัน จากเป้าหมาย 23639.61 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ ฯลฯ โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน เพื่อนำไปคัดแยกขยะในบ้านเรือนและชุมชนในการทำน้ำขยะหอม, นำไปรีไซเคิลหรือนำไปขายร้านรับซื้อของเก่า, คัดแยกขยะอันตรายในการทิ้งให้ถูกประเภท มีการจัดการมูลฝอยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.ปริมาณขยะที่นำมาใช้ประโยชน์ - เดือนมกราคม - มีนาคม 2563 จัดเก็บได้จำนวน 5929.56 ตัน รวมจัดเก็บขยะที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ 5929.56 ตัน 2.ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ - เดือนมกราคม -มีนาคม 2563 จัดเก็บได้จำนวน 1,414 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับมาใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดรวม 12,513.83 จากเป้าหมาย 23639.61 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ ฯลฯ โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน เพื่อนำไปคัดแยกขยะในบ้านเรือนและชุมชนในการทำน้ำขยะหอม, นำไปรีไซเคิลหรือนำไปขายร้านรับซื้อของเก่า, คัดแยกขยะอันตรายในการทิ้งให้ถูกประเภท มีการจัดการมูลฝอยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.ปริมาณขยะที่นำมาใช้ประโยชน์ - เดือนเมษายน2563 จัดเก็บได้ 1,496.11 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2563 จัดเก็บได้ 2,000.85 ตัน - เดือนมิถุนายน 2563 จัดเก็บได้ 2,047.85 ตัน รวมจัดเก็บขยะที่นำกลับมาใช้ประโยชน์จำนวน 5,544.81 ตัน 2.ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ - เดือนเมษายน 2563 จัดเก็บได้ 527 ตัน -เดือนพฤษภาคม 2563 จัดเก็บได้ 465.90 ตัน -เดือนมิถุนายน 2563 จัดเก็บได้ 497.90 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับมาใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดรวม 1,490.80 จากเป้าหมาย 23,639.61 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-1.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ ฯลฯ โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน เพื่อนำไปคัดแยกขยะในบ้านเรือนและชุมชนในการทำน้ำขยะหอม, นำไปรีไซเคิลหรือนำไปขายร้านรับซื้อของเก่า, คัดแยกขยะอันตรายในการทิ้งให้ถูกประเภท มีการจัดการมูลฝอยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.ปริมาณขยะที่นำมาใช้ประโยชน์ - เดือนกรกฎาคม 2563 จัดเก็บได้ 1784.45 ตัน - เดือนสิงหาคม 2563 จัดเก็บได้ 1376.05 ตัน - เดือนกันยายน 2563 จัดเก็บได้ 1295.05 ตัน รวมจัดเก็บขยะที่นำกลับมาใช้ประโยชน์จำนวน 4455.55 ตัน 2.ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ - เดือนกรกฎาคม 2563 จัดเก็บได้ 452.90 ตัน -เดือนสิงหาคม 2563 จัดเก็บได้ 412.90 ตัน -เดือนกันยายน 2563 จัดเก็บได้ 356.90 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับมาใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดรวม 1222.70 ตัน จากเป้าหมาย 23639.61 ตัน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(7) ตัวชี้วัดที่ 2 (ตัวชี้วัดเจรจา 2) การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด ตัวชี้วัดที่ 2.1 : ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ตัวชี้วัดที่ 2 (ตัวชี้วัดเจรจา 2) การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด
ตัวชี้วัดที่ 2.1 : ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :15.00

ผลงาน :16.86

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
4.14

100 / 100
2
4.66

100 / 100
3
4.46

0 / 0
4
16.86

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ ฯลฯ โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน เพื่อนำไปคัดแยกขยะในบ้านเรือนและชุมชนในการทำน้ำขยะหอม, นำไปรีไซเคิลหรือนำไปขายร้านรับซื้อของเก่า, คัดแยกขยะอันตรายในการทิ้งให้ถูกประเภท มีการจัดการมูลฝอยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำมาใช้ประโยชน์ - เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 395.90 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2562 จำนวน 422.20 ตัน - เดือนธันวาคม 2562 จำนวน 534 ตัน รวมจัดเก็บขยะอินทรีย์ 1352.10 ตัน 2.ปริมาณขยะที่นำมาใช้ประโยชน์ - เดือนตุลาคม -ธันวาคม 2562 จัดเก็บได้จำนวน 5170.55 ตัน จากเป้าหมาย 23639.61 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ ฯลฯ โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน เพื่อนำไปคัดแยกขยะในบ้านเรือนและชุมชนในการทำน้ำขยะหอม, นำไปรีไซเคิลหรือนำไปขายร้านรับซื้อของเก่า, คัดแยกขยะอันตรายในการทิ้งให้ถูกประเภท มีการจัดการมูลฝอยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.ปริมาณขยะที่นำมาใช้ประโยชน์ - เดือนมกราคม - มีนาคม 2563 จัดเก็บได้จำนวน 5929.56 ตัน รวมจัดเก็บขยะที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ 5929.56 ตัน 2.ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ - เดือนมกราคม -มีนาคม 2563 จัดเก็บได้จำนวน 1,414 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับมาใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดรวม 12,513.83 จากเป้าหมาย 23639.61 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ ฯลฯ โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน เพื่อนำไปคัดแยกขยะในบ้านเรือนและชุมชนในการทำน้ำขยะหอม, นำไปรีไซเคิลหรือนำไปขายร้านรับซื้อของเก่า, คัดแยกขยะอันตรายในการทิ้งให้ถูกประเภท มีการจัดการมูลฝอยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.ปริมาณขยะที่นำมาใช้ประโยชน์ - เดือนเมษายน2563 จัดเก็บได้ 1,496.11 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2563 จัดเก็บได้ 2,000.85 ตัน - เดือนมิถุนายน 2563 จัดเก็บได้ 2,047.85 ตัน รวมจัดเก็บขยะที่นำกลับมาใช้ประโยชน์จำนวน 5,544.81 ตัน 2.ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ - เดือนเมษายน 2563 จัดเก็บได้ 527 ตัน -เดือนพฤษภาคม 2563 จัดเก็บได้ 465.90 ตัน -เดือนมิถุนายน 2563 จัดเก็บได้ 497.90 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับมาใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดรวม 1,490.80 จากเป้าหมาย 23,639.61 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-1.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ ฯลฯ โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน เพื่อนำไปคัดแยกขยะในบ้านเรือนและชุมชนในการทำน้ำขยะหอม, นำไปรีไซเคิลหรือนำไปขายร้านรับซื้อของเก่า, คัดแยกขยะอันตรายในการทิ้งให้ถูกประเภท มีการจัดการมูลฝอยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.ปริมาณขยะที่นำมาใช้ประโยชน์ - เดือนกรกฎาคม 2563 จัดเก็บได้ 1784.45 ตัน - เดือนสิงหาคม 2563 จัดเก็บได้ 1376.05 ตัน - เดือนกันยายน 2563 จัดเก็บได้ 1295.05 ตัน รวมจัดเก็บขยะที่นำกลับมาใช้ประโยชน์จำนวน 4455.55 ตัน 2.ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ - เดือนกรกฎาคม 2563 จัดเก็บได้ 452.90 ตัน -เดือนสิงหาคม 2563 จัดเก็บได้ 412.90 ตัน -เดือนกันยายน 2563 จัดเก็บได้ 356.90 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับมาใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดรวม 1222.70 ตัน จากเป้าหมาย 23639.61 ตัน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(8) ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :10.24

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.57

100 / 100
2
1.50

100 / 100
3
1.59

0 / 0
4
10.24

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด ประเภทขยะอันตราย โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และส่งส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน - เดือนตุลาคม 2562 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 1.32 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2562 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 1.48 ตัน - เดือนธันวาคม 2562 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 2.14 ตัน รวมจัดเก็บขยะอันตรายได้ 4.94 ตัน จากเป้าหมาย 19.22 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด ประเภทขยะอันตราย โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และส่งส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน - เดือนมกราคม 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 0.59 ตัน - เดือนกุมภาพันธ์ 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 1.22 ตัน - เดือนมีนาคม 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 1.070 ตัน รวมจัดเก็บขยะอันตรายได้ 2.88 ตัน จากเป้าหมาย 19.22 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด ประเภทขยะอันตราย โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และส่งส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน - เดือนเมษายน 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 2.01 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 0.30 ตัน - เดือนมิถุนายน 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 0.74 ตัน รวมจัดเก็บขยะอันตรายได้ 3.05 ตัน จากเป้าหมาย 19.22 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด ประเภทขยะอันตราย โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และส่งส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน - เดือนกรกฎาคม 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 4.59 ตัน - เดือนสิงหาคม 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 3.69 ตัน - เดือนกันยายน 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 0.54 ตัน รวมจัดเก็บขยะอันตรายได้ 8.82 ตัน จากเป้าหมาย 19.22 ตัน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(9) ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :10.24

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.57

100 / 100
2
1.50

100 / 100
3
1.59

0 / 0
4
10.24

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด ประเภทขยะอันตราย โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และส่งส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน - เดือนตุลาคม 2562 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 1.32 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2562 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 1.48 ตัน - เดือนธันวาคม 2562 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 2.14 ตัน รวมจัดเก็บขยะอันตรายได้ 4.94 ตัน จากเป้าหมาย 19.22 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด ประเภทขยะอันตราย โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และส่งส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน - เดือนมกราคม 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 0.59 ตัน - เดือนกุมภาพันธ์ 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 1.22 ตัน - เดือนมีนาคม 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 1.070 ตัน รวมจัดเก็บขยะอันตรายได้ 2.88 ตัน จากเป้าหมาย 19.22 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด ประเภทขยะอันตราย โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และส่งส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน - เดือนเมษายน 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 2.01 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 0.30 ตัน - เดือนมิถุนายน 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 0.74 ตัน รวมจัดเก็บขยะอันตรายได้ 3.05 ตัน จากเป้าหมาย 19.22 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--ดำเนินกิจกรรมตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด ประเภทขยะอันตราย โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และส่งส่งเสริมการรณรงค์คัดแยกมูลฝอยในชุมชน - เดือนกรกฎาคม 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 4.59 ตัน - เดือนสิงหาคม 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 3.69 ตัน - เดือนกันยายน 2563 ขยะอันตรายจัดเก็บได้ 0.54 ตัน รวมจัดเก็บขยะอันตรายได้ 8.82 ตัน จากเป้าหมาย 19.22 ตัน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(10) ตัวชี้วัดที่ 4 (ตัวชี้วัดเจรจา 3) พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ตัวชี้วัดที่ 4 (ตัวชี้วัดเจรจา 3) พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. สำรวจพื้นที่เสี่ยงภัย/จัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงในพื้นที่เขต จำนวน 1 จุด ได้แก่ สวนเเฉลิมพระเกียรติ ร 9 มีนบุรี และได้สำรวจเพิ่มเติมอีก 3 จุด ประกอบด้วย 1. ปากซอยรามอินทรา 117 2. ปากซอยเสรีไทย 60 3. หน้าโรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน 2. จัดทำโครงการ/ขออุมัติโครงการ/จัดทำคำสั่งมอบหมายหน้าที่ปฏิบัติงานตามโครงการฯ 3. ติดตั้งตู้เขียว/ทำสมุดลงลายมือชื่อเจ้าหน้าที่และลงรายงานเหตุการณ์ขณะตรวจประจำจุดตรวจฯ 4. จัดเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และรายงานสถานการณ์ลงในสมุดตรวจประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2562 เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 5. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 6. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 7. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 8. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 9. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 10. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 11. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และรายงานสถานการณ์ลงในสมุดตรวจประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเดือน มกราคม - มีนาคม 2563 เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และรายงานสถานการณ์ลงในสมุดตรวจประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเดือน เมษายน - มิถุนายน 2563 เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตรวจจุดเสี่ยงที่กำหนด และรายงานสถานการณ์ลงในสมุดตรวจประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเดือน กรกฎาคม - กันยายน 2563 เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจร่วมกันออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจ วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้ปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(11) ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของความสำเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ตัวชี้วัดที่ 3 :  ร้อยละของความสำเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :276.22


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
51.56

100 / 100
2
89.55

100 / 100
3
189.56

0 / 0
4
276.22

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.ดำเนินการจัดทำแผนติดตั้งไฟฟ้าส่งสำนักการโยธา 2.กำหนดเป้าหมายการติดตั้งไฟฟ้า จำนวน 150 ดวง 3.ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้าตั้งแต่เดือน ต.ค. - ธ.ค. 62 การไฟฟ้าไม่แจ้งติดตั้ง และซ่อมแซมไฟฟ้า เดือน ต.ค. - ธ.ค. 62 รายการซ่อมแซม จำนวน 232 ดวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้าตั้งแต่เดือน ม.ค. - มี.ค. 63 การไฟฟ้าไม่แจ้งติดตั้ง และซ่อมแซมไฟฟ้า เดือน ม.ค. - มี.ค. 63 รายการซ่อมแซม จำนวน 403 ดวง(กำหนดเป้าหมายการติดตั้งไฟฟ้า จำนวน 150 ดวงและซ่อมแซมไฟฟ้า จำนวน 300 ดวง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้าตั้งแต่เดือน เม.ย. - มิ.ย. 63 การไฟฟ้าไม่แจ้งติดตั้ง และซ่อมแซมไฟฟ้า เดือน เม.ย. - มิ.ย. 63 รายการซ่อมแซม จำนวน 218 ดวง(กำหนดเป้าหมายการติดตั้งไฟฟ้า จำนวน 150 ดวงและซ่อมแซมไฟฟ้า จำนวน 300 ดวง) 2.ตั้งแต่เดือน ต.ค. - มิ.ย.63 ไม่มีการติดตั้งไฟฟ้า มีรายการซ่อมแซม จำนวน 853 ดวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.ดำเนินการติดตั้งไฟฟ้าตั้งแต่เดือน ก.ค. - ก.ย. 63 การไฟฟ้าไม่แจ้งติดตั้ง และซ่อมแซมไฟฟ้า เดือน ก.ค. - ก.ย. 63 รายการซ่อมแซม จำนวน 390 ดวง(กำหนดเป้าหมายการติดตั้งไฟฟ้า จำนวน 150 ดวงและซ่อมแซมไฟฟ้า จำนวน 300 ดวง) 2. ตั้งแต่เดือน ต.ค. - ก.ย. 63 ไม่มีการติดตั้งไฟฟ้า มีรายการซ่อมแซม จำนวน 1,243 ดวง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(12) ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรีที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพผ่านเกณฑ์ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและบทบาทหน้าที่ของตนเอง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรีที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพผ่านเกณฑ์ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและบทบาทหน้าที่ของตนเอง

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :83.89


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
83.89

100 / 100
3
83.89

0 / 0
4
83.89

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.ขออนุมัติโครงการและแต่งตั้งคณะทำงานอาสาสมัครฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 2.จัดประชุมคณะทำงานไตรมาสที่ 1 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2562 3.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการอบรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดซึ่งจะดำเนินการอบรมในเดือนกุมภาพันธ์ 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.ดำเนินการฝึกอบรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรี เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง โดยมีผู้เข้าอบรมจำนวน 180 คน พร้อมทั้งประเมินความรู้ผู้เข้าอบรม โดยสรุปผลการทดสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 83.89 2.เตรียมดำเนินกิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในเดือนมิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.ดำเนินการฝึกอบรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรี เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง โดยมีผู้เข้าอบรมจำนวน 180 คน พร้อมทั้งประเมินความรู้ผู้เข้าอบรม โดยสรุปผลการทดสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 83.89 2.ยกเลิกกิจกรรมรณรงค์กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดได้เนื่องจากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและประกาศ ดังนี้ - ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 1 ) ข้อ 5 การห้ามชุมนุม ประกาศ ณ วันที่ 25 มีนาคม 2563 และมีการต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ฯ ต่ออีก 1 เดือน สิ้นสุดเดือนมิถุนายน 2563 3.ปรับวิธีการรณรงค์โดยการรณรงค์ผ่านสื่อออนไลน์ และจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.ดำเนินการฝึกอบรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรี เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง โดยมีผู้เข้าอบรมจำนวน 180 คน พร้อมทั้งประเมินความรู้ผู้เข้าอบรม โดยสรุปผลการทดสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 83.89 2.ยกเลิกกิจกรรมรณรงค์กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดได้เนื่องจากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและประกาศ ดังนี้ - ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 1 ) ข้อ 5 การห้ามชุมนุม ประกาศ ณ วันที่ 25 มีนาคม 2563 และมีการต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ฯ ต่ออีก 1 เดือน สิ้นสุดเดือนมิถุนายน 2563 3.ปรับวิธีการรณรงค์โดยการรณรงค์ผ่านสื่อออนไลน์ และจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(13) ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรีที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพผ่านเกณฑ์ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและบทบาทหน้าที่ของตนเอง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรีที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพผ่านเกณฑ์ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและบทบาทหน้าที่ของตนเอง

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :83.89

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
83.89

100 / 100
3
83.89

0 / 0
4
83.89

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.ขออนุมัติโครงการและแต่งตั้งคณะทำงานอาสาสมัครฝ้าระวังภัยและยาเสพติด 2.จัดประชุมคณะทำงานไตรมาสที่ 1 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2562 3.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการอบรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดซึ่งจะดำเนินการอบรมในเดือนกุมภาพันธ์ 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.ดำเนินการฝึกอบรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรี เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง โดยมีผู้เข้าอบรมจำนวน 180 คน พร้อมทั้งประเมินความรู้ผู้เข้าอบรม โดยสรุปผลการทดสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 83.89 2.เตรียมดำเนินกิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในเดือนมิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.ดำเนินการฝึกอบรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรี เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง โดยมีผู้เข้าอบรมจำนวน 180 คน พร้อมทั้งประเมินความรู้ผู้เข้าอบรม โดยสรุปผลการทดสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 83.89 2.ยกเลิกกิจกรรมรณรงค์กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดได้เนื่องจากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและประกาศ ดังนี้ - ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 1 ) ข้อ 5 การห้ามชุมนุม ประกาศ ณ วันที่ 25 มีนาคม 2563 และมีการต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ฯ ต่ออีก 1 เดือน สิ้นสุดเดือนมิถุนายน 2563 3.ปรับวิธีการรณรงค์โดยการรณรงค์ผ่านสื่อออนไลน์ และจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.ดำเนินการฝึกอบรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตมีนบุรี เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง โดยมีผู้เข้าอบรมจำนวน 180 คน พร้อมทั้งประเมินความรู้ผู้เข้าอบรม โดยสรุปผลการทดสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 83.89 2.ยกเลิกกิจกรรมรณรงค์กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวังภัยและยาเสพติดได้เนื่องจากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและประกาศ ดังนี้ - ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 1 ) ข้อ 5 การห้ามชุมนุม ประกาศ ณ วันที่ 25 มีนาคม 2563 และมีการต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ฯ ต่ออีก 1 เดือน สิ้นสุดเดือนมิถุนายน 2563 3.ปรับวิธีการรณรงค์โดยการรณรงค์ผ่านสื่อออนไลน์ และจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(14) ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ร่วมดำเนินการ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ร่วมดำเนินการ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :85.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
30.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.จัดทำโครงการ 2.ประสานงานโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครเพื่อร่วมดำเนินการโครงการ 3. เตรียมการประชุมคณะทำงานฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ชะลอโครงการเนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ยกเลิกโครงการเนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระบาด ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้ด้วยกิจกรรมตามโครงการเป็นกิจกรรมที่มีการประชุม อบรม รวมกลุ่ม ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--ยกเลิกโครงการเนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระบาด ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้ด้วยกิจกรรมตามโครงการเป็นกิจกรรมที่มีการประชุม อบรม รวมกลุ่ม ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(15) ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ร่วมดำเนินการ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ร่วมดำเนินการ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :85.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
30.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.จัดทำโครงการ 2.ประสานงานโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครเพื่อร่วมดำเนินการโครงการ 3. เตรียมการประชุมคณะทำงานฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ชะลอโครงการเนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ยกเลิกโครงการเนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระบาด ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้ด้วยกิจกรรมตามโครงการเป็นกิจกรรมที่มีการประชุม อบรม รวมกลุ่ม ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--ยกเลิกโครงการเนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระบาด ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้ด้วยกิจกรรมตามโครงการเป็นกิจกรรมที่มีการประชุม อบรม รวมกลุ่ม ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ

(16) (ตัวชี้วัดเจรจา 8) ร้อยละความสำเร็จในการจัดทำแผนการพัฒนาและฟื้นฟูคลอง
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
(ตัวชี้วัดเจรจา 8)  ร้อยละความสำเร็จในการจัดทำแผนการพัฒนาและฟื้นฟูคลอง

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
80.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.สำรวจและรวบรวมข้อมูลสภาพทั่วไปของคลอง 2.แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานจัดทำแผนพัฒนาและบำรุงรักษาคลองในพื้นที่เขต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.ประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานเพื่อกำหนดแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาและบำรุงรักษาคลองในพื้นที่เขต 2.คณะทำงานฯ เตรียมดำเนินการจัดทำร่างแผนพัฒนาและบำรุงรักษาคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.คณะทำงานจัดทำร่างแผนฯ 2.นำร่างแผนฯ ที่ได้รับข้อเสนอแนะจากคณะทำงานเสนอคณะกรรมการฯ เพื่อพิจารณา 3.คณะกรรมการฯ พิจารณาร่างแผนฯ และมีข้อแนะนำให้ปรับตัวชี้วัดให้เหมาะสม คณะทำงานฯ นำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแก้ไข 4.อยู่ระหว่างการปรับปรุงร่างแผนฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. คณะทำงานนำแผนพัฒนาและฟื้นฟูคลองเสนอคณะกรรมการเพื่อให้ความเห็นชอบแผนฯ 2. ประกาศใช้แผนพัฒนาและบำรุงรักษาคลอง พร้อมแจ้งสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลและทุกฝ่ายทราบ 3. รายงานให้ผู้บริหารเขตทราบ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City)

(17) ร้อยละของชุมชนที่มีการดำเนินกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ร้อยละของชุมชนที่มีการดำเนินกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
31.25

100 / 100
2
95.00

100 / 100
3
97.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินกิจกรรมป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนจำนวน 20 ชุมชน จากชุมชนทั้งหมด 64 ชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินกิจกรรมป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (กิจกรรม IVM) 60 ชุมชน (จำนวน 95 ครั้ง) จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินกิจกรรมป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (กิจกรรม IVM) 61 ชุมชน (จำนวน 100 ครั้ง) จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--ดำเนินกิจกรรมป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (กิจกรรม IVM) 63 ชุมชน (จำนวน 104 ครั้ง) จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(18) ร้อยละของชุมชนที่มีการดำเนินกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
ร้อยละของชุมชนที่มีการดำเนินกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
31.25

100 / 100
2
95.00

100 / 100
3
97.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินกิจกรรมป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนจำนวน 20 ชุมชน จากชุมชนทั้งหมด 64 ชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินกิจกรรมป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (กิจกรรม IVM) 60 ชุมชน (จำนวน 95 ครั้ง) จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินกิจกรรมป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (กิจกรรม IVM) 61 ชุมชน (จำนวน 100 ครั้ง) จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--ดำเนินกิจกรรมป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (กิจกรรม IVM) 63 ชุมชน (จำนวน 104 ครั้ง) จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 63 ชุมชน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(19) ตัวชี้วัดที่ 7 (ตัวชี้วัดเจรจาที่ 4 ) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ตัวชี้วัดที่ 7 (ตัวชี้วัดเจรจาที่ 4 ) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
85.00

100 / 100
2
66.42

100 / 100
3
89.06

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สถานประกอบการอาหารที่ได้รับป้ายผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 85

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ส่งเสริมสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย ซึ่งสถานประกอบการอาหารที่ได้รับป้ายผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 176 แห่ง จากทั้งหมด 265 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.42

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ส่งเสริมสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย ซึ่งสถานประกอบการอาหารที่ได้รับป้ายผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 236 แห่ง จากทั้งหมด 265 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 89.06

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ส่งเสริมสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย ซึ่งสถานประกอบการอาหารที่ได้รับป้ายผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 265 แห่ง จากทั้งหมด 265 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม

(20) ตัวชี้วัดเจรจา 9 ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
ตัวชี้วัดเจรจา 9 ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
40.00

100 / 100
2
80.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนิกิจกรรมตามโครงการ เพื่อปรับปรุงภุมิทัศถนนในพื้นที่เขตมีนบุรี 1. ดำเนินการปลูกต้นไม้ จำนวน 50 ต้น ต้นทองอุไร และต้นทรงบาดาล ให้ดูสวยงามและพื้นที่สีเขียว 2. จัดให้มีที่พักขยะและปรับเปลี่ยนที่พักขยะ เพื่อให้สอดคล้องกับจุดทิ้งของประชาชน 3. จัดกิจกรรม Bing cleaning Day ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน 4. ปรับปรุงภูมิทัศน์ ตัดแต่งกิ่งไม้ พัฒนาตัดหญ้าบริเวณไหล่ทาง 5. ดำเนินกิจกรรมร่วมกับฝ่ายเทศกิจ ดำเนินการกวดขัน ตักเตือน ปรับ เพื่อไม่ให้มีการฝ่าฝืนนำรถจักรยานยนต์ขึ้นมาขับบนหรือจอดทางเท้า

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดกิจกรรมดังนี้ 1.จัดกิจกรรมการจัดระเบียบ Street Funiture และซ่อมแซมทางเท้า ขีดสีตีเส้นการจราจร ระยะทาง 800 ม. และซ่อมแซมป้ายรถโดยสารประจำทาง จำนวน 1 ป้าย 2.ดำเนินการกวดขัน จัดเก็บ ปรับ ป้ายผิดกฏหมาย 3.ดำเนินการกวดขัน ตักเตือน ปรับ ไม่ให้มีการฝ่าฝืนรถจักรยานยนต์ ไม่ให้ขับขี้่และจอดบนทางเท้า 4.ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของประชาชน เครือข่าย ภาครัฐ ภาคเอกชน จำนวน 118 ราย สรุปมีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ 84.68

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการครบ 7 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมปลูกต้นไม้ ตัดแต่งต้นไม้ 2) กิจกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ไหล่ทาง ทางเท้า และเกาะกลางถนนเป็นประจำ และจัดทำสัญลักษณ์รูปปลา 3) ปรับเปลี่ยนจุดทิ้งขยะให้เหมาะสม 4) กิจกรรมการกวดขัน จัดเก็บป้ายผิดกฎหมาย 5) กิจกรรมการกวดขัน ตักเตือน การจอด หรือขับขี้รถบนทางเท้า 6) กิจกรรม Big Cleaning Day 7) กิจกรรมซ่อมแซมปรับปรุงทางเท้า ทาสีตีเส้น เครื่องหมายจราจร 2.สรุปผลการดำเนินการรายงานผู้อำนวยการเขตทราบ 3.ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของประชาชน จำนวน 2 ครั้ง - ทอดแบบสำรวจความพึงพอใจ ครั้งที่ 1 จำนวน 118 ราย สรุปผลสำรวจความพึงพอใจระดับมากที่สุด คะแนนค่าเฉลี่ย 4.238 คิดเป็นร้อยละ 84.76 - ทอดแบบสอบถามความพึงพอใจครั้งที่ 2 จำนวน 124 ราย สรุปผลสำรวจความพึงพอใจระดับพอใจมาก คะแนนค่าเฉลี่ย 4.074 คิดเป็นร้อยละ 81.48 - สรุปความพึงพอใจ จำนวน 2 ครั้ง ค่าเฉลี่ยมีรัดับความพึงพอใจมาก คะแนนค่าเฉลี่ย 4.156

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการครบ 7 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมปลูกต้นไม้ ตัดแต่งต้นไม้ 2) กิจกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ไหล่ทาง ทางเท้า และเกาะกลางถนนเป็นประจำ และจัดทำสัญลักษณ์รูปปลา 3) ปรับเปลี่ยนจุดทิ้งขยะให้เหมาะสม 4) กิจกรรมการกวดขัน จัดเก็บป้ายผิดกฎหมาย 5) กิจกรรมการกวดขัน ตักเตือน การจอด หรือขับขี้รถบนทางเท้า 6) กิจกรรม Big Cleaning Day 7) กิจกรรมซ่อมแซมปรับปรุงทางเท้า ทาสีตีเส้น เครื่องหมายจราจร 2.สรุปผลการดำเนินการรายงานผู้อำนวยการเขตทราบ 3.ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของประชาชน จำนวน 2 ครั้ง - ทอดแบบสำรวจความพึงพอใจ ครั้งที่ 1 จำนวน 118 ราย สรุปผลสำรวจความพึงพอใจระดับมากที่สุด คะแนนค่าเฉลี่ย 4.238 คิดเป็นร้อยละ 84.76 - ทอดแบบสอบถามความพึงพอใจครั้งที่ 2 จำนวน 124 ราย สรุปผลสำรวจความพึงพอใจระดับพอใจมาก คะแนนค่าเฉลี่ย 4.074 คิดเป็นร้อยละ 81.48 - สรุปความพึงพอใจ จำนวน 2 ครั้ง ค่าเฉลี่ยมีรัดับความพึงพอใจมาก คะแนนค่าเฉลี่ย 4.156

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(21) ตัวชี้วัดที่ 8 (ตัวชี้วัดเจรจา 5) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
ตัวชี้วัดที่ 8 (ตัวชี้วัดเจรจา 5)  พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
12.72

100 / 100
2
66.07

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.สำรวจพื้นที่สีเขียว 7 ประเภท ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและรายงานลงในระบบ เดือนตุลาคม 2562-เดือนธันวาคม2562 -พื้นที่ศาลเจ้าแม่กวนอิม ถนนสุวินทวงศ์ จำนวน 1424.4 ตรม. ( 3 งาน 56.11 ตารางวา)จากเป้าหมาย 11200 ตารางเมตร (7 ไร่)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1.สำรวจพื้นที่สีเขียว 7 ประเภท ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและรายงานลงในระบบ เดือนมกราคม-มีนาคม 2563 สวนหย่อมหน้าเดอะคิวพ์พลัสคอนโดมีนบุรี,จัดสวนแนวตั้งบลัสสปา ซอยสุวินทวงศ์ 8 , จัดสวนหย่อมภายในบริษัท เค.เอส โปรดักส์แลนด์ซัพพลาย ถนนราษฎร์อุทิศ ,จัดสวนแนวตั้งบลัสสปา ซอยสุวินทวงศ์ 8 ,จัดสวนหย่อมหมู่บ้านเดอะคอนเนค ถนนสามวา , จัดสวนหย่อมภายในปั๊มปตท.เลขที่ 6133 ถนนราษฎร์อุทิศ รวมพื้นที่จำนวน 7,400.12 ตรม. (4 ไร่ ,2งาน ,50.03 ตรารางวา)จากเป้าหมาย จากเป้าหมาย 11200 ตารางเมตร (7 ไร่)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1.สำรวจพื้นที่สีเขียว 7 ประเภท ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและรายงานลงในระบบ เดือนเมษายน 2563 จัดทำสวนหย่อมใน หจก.ปัญญานิมิต เลขที่74/59 ซอยคุ้มเกล้า 4 ถนนคุ้มเกล้า ขนาดพื้นที่ 17514.40 ตารางเมตร (10ไร่ 3 งาน 78.6 ตารางวา) จัดสวนกระถางเฟื่องฟ้าราวสะพานถนนมีนพัฒนา ระยะทาง 80.5 ตารางวา รวมพื้นที่ 17836.4 ตารางเมตร(11ไร่ 59.1 ตารางวา) จากเป้าหมาย 11200 ตารางเมตร (7 ไร่ )

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-1.สำรวจพื้นที่สีเขียว 7 ประเภท ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและรายงานลงในระบบ เดือนเมษายน 2563 จัดทำสวนหย่อมใน หจก.ปัญญานิมิต เลขที่74/59 ซอยคุ้มเกล้า 4 ถนนคุ้มเกล้า ขนาดพื้นที่ 17514.40 ตารางเมตร (10ไร่ 3 งาน 78.6 ตารางวา) จัดสวนกระถางเฟื่องฟ้าราวสะพานถนนมีนพัฒนา ระยะทาง 80.5 ตารางวา รวมพื้นที่ 17836.4 ตารางเมตร(11ไร่ 59.1 ตารางวา) จากเป้าหมาย 11200 ตารางเมตร (7 ไร่ )

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(22) ตัวชี้วัดที่ 9 จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
ตัวชี้วัดที่ 9 จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ภูมิปัญญา

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ภูมิปัญญา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
1.00

100 / 100
3
1.00

0 / 0
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- เสนอขออนุมัติงบประมาณ - ดำเนินการประชาสัมพันธ์เพื่อสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- จัดซื้อวัสดุประกอบการดำเนินการเรียบร้อยแล้ว - คัดเลือกและเสนอภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปี 2563 สาขาศิลปกรรม (ด้านดนตรี นาฏศิลป์) ได้แก่ ศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบี่กระบองตามแบบชาวมุสลิม ศิษย์ ซ.สุวรรณ โดย กลุ่มศิษย์ ซ.สุวรรณ - อยู่ระหว่างพิจารณากำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมเผยแพร่ภูมิปัญญา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดซื้อวัสดุประกอบการดำเนินการเรียบร้อยแล้ว - คัดเลือกและเสนอภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปี 2563 สาขาศิลปกรรม (ด้านดนตรี นาฏศิลป์) ได้แก่ ศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบี่กระบองตามแบบชาวมุสลิม ศิษย์ ซ.สุวรรณ โดย กลุ่มศิษย์ ซ.สุวรรณ - จัดทำเอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์เล่มภูมิปัญญาผู้สูงอายุเขตมีนบุรีเรียบร้อยแล้ว - ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- จัดซื้อวัสดุประกอบการดำเนินการเรียบร้อยแล้ว - คัดเลือกและเสนอภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปี 2563 สาขาศิลปกรรม (ด้านดนตรี นาฏศิลป์) ได้แก่ ศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบี่กระบองตามแบบชาวมุสลิม ศิษย์ ซ.สุวรรณ โดย กลุ่มศิษย์ ซ.สุวรรณ - จัดทำเอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์เล่มภูมิปัญญาผู้สูงอายุเขตมีนบุรีเรียบร้อยแล้ว - ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(23) ตัวชี้วัดที่ 9 จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
ตัวชี้วัดที่ 9 จำนวนภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ภูมิปัญญา

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ภูมิปัญญา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
1.00

100 / 100
3
1.00

0 / 0
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- เสนอขออนุมัติงบประมาณ - ดำเนินการประชาสัมพันธ์เพื่อสรรหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- จัดซื้อวัสดุประกอบการดำเนินการเรียบร้อยแล้ว - คัดเลือกและเสนอภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปี 2563 สาขาศิลปกรรม (ด้านดนตรี นาฏศิลป์) ได้แก่ ศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบี่กระบองตามแบบชาวมุสลิม ศิษย์ ซ.สุวรรณ โดย กลุ่มศิษย์ ซ.สุวรรณ - อยู่ระหว่างพิจารณากำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมเผยแพร่ภูมิปัญญา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดซื้อวัสดุประกอบการดำเนินการเรียบร้อยแล้ว - คัดเลือกและเสนอภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปี 2563 สาขาศิลปกรรม (ด้านดนตรี นาฏศิลป์) ได้แก่ ศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบี่กระบองตามแบบชาวมุสลิม ศิษย์ ซ.สุวรรณ โดย กลุ่มศิษย์ ซ.สุวรรณ - จัดทำเอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์เล่มภูมิปัญญาผู้สูงอายุเขตมีนบุรีเรียบร้อยแล้ว - ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- จัดซื้อวัสดุประกอบการดำเนินการเรียบร้อยแล้ว - คัดเลือกและเสนอภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปี 2563 สาขาศิลปกรรม (ด้านดนตรี นาฏศิลป์) ได้แก่ ศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบี่กระบองตามแบบชาวมุสลิม ศิษย์ ซ.สุวรรณ โดย กลุ่มศิษย์ ซ.สุวรรณ - จัดทำเอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์เล่มภูมิปัญญาผู้สูงอายุเขตมีนบุรีเรียบร้อยแล้ว - ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน

(24) ตัวชี้วัดที่ 10 (ตัวชี้วัดเจรจา 6) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 10 (ตัวชี้วัดเจรจา 6) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :66.81

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
66.81

0 / 0
4
66.81

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. โรงเรียนเตรียมนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 13 โรงเรียน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 4 โรงเรียน (โรงเรียนบ้านเกาะ โรงเรียนวัดทองสัมฤทธิ์ โรงเรียนวัดใหม่ลำนกแขวก และโรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน) สอบ O-NET 2. จัดทำโครงการสนับสนุนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยดำเนินโครงการทั้ง 22 โครงการ ที่สนับสนุนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และอีก 1 โครงการ คือ โครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร งบประมาณ 256,200 บาท โดยสอนเสริม O-NET ใน 4 วิชา คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกวันเสาร์ เริ่มสอนตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2562 - มกราคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตมีนบุรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 13 โรงเรียน และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 4 โรงเรียน (โรงเรียนบ้านเกาะ โรงเรียนวัดทองสัมฤทธิ์ โรงเรียนวัดใหม่ลำนกแขวก และโรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน) ดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เรียบร้อยแล้ว โดยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สอบวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ในสนามสอบจำนวน 2 แห่ง คือ โรงเรียนในเครือข่ายที่ 33 สอบที่สนามสอบโรงเรียนวัดบำเพ็ญเหนือ และโรงเรียนในเครือข่ายที่ 34 สอบที่สนามสอบโรงเรียนวัดแสนสุข และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอบวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 สอบที่สนามสอบโรงเรียนสุเหร่าทรายองดิน 2. อยู่ระหว่างรอผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 จากสำนักการศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. สำนักการศึกษาส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ดังนี้ 1.1 ผลคะแนนเฉลี่ย ชั้น ป.6 - ภาษาไทย ได้คะแนน 50.71 - คณิตศาสตร์ ได้คะแนน 32.59 - วิทยาศาสตร์ ได้คะแนน 36.32 - ภาษาอังกฤษ ได้คะแนน 33.49 1.2 ผลคะแนนเฉลี่ย ชั้น ม.3 - ภาษาไทย ได้คะแนน 49.41 - คณิตศาสตร์ ได้คะแนน 21.02 - วิทยาศาสตร์ ได้คะแนน 28.67 - ภาษาอังกฤษ ได้คะแนน 28.89 2. คะแนนตัวชี้วัดบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ 2563 "ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด" เป้าหมาย ร้อยละ 100 สำนักงานเขตมีนบุรีได้คะแนน ดังนี้ 2.1 คะแนนรวมระดับชั้น ป.6 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ได้ 6.85 คะแนน 2.2 คะแนนรวมระดับชั้น ม.3 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ได้ 6.51 คะแนน 2.3 คะแนนรวมทุกระดับชั้น เท่ากับ 13.36 คะแนน ดังนั้น คะแนนสำนักงานเขต เท่ากับ 6.681 และร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต เท่ากับ ร้อยละ 66.81

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. สำนักการศึกษาส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ดังนี้ 1.1 ผลคะแนนเฉลี่ย ชั้น ป.6 - ภาษาไทย ได้คะแนน 50.71 - คณิตศาสตร์ ได้คะแนน 32.59 - วิทยาศาสตร์ ได้คะแนน 36.32 - ภาษาอังกฤษ ได้คะแนน 33.49 1.2 ผลคะแนนเฉลี่ย ชั้น ม.3 - ภาษาไทย ได้คะแนน 49.41 - คณิตศาสตร์ ได้คะแนน 21.02 - วิทยาศาสตร์ ได้คะแนน 28.67 - ภาษาอังกฤษ ได้คะแนน 28.89 2. คะแนนตัวชี้วัดบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ 2563 "ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด" เป้าหมาย ร้อยละ 100 สำนักงานเขตมีนบุรีได้คะแนน ดังนี้ 2.1 คะแนนรวมระดับชั้น ป.6 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ได้ 6.85 คะแนน 2.2 คะแนนรวมระดับชั้น ม.3 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ได้ 6.51 คะแนน 2.3 คะแนนรวมทุกระดับชั้น เท่ากับ 13.36 คะแนน ดังนั้น คะแนนสำนักงานเขต เท่ากับ 6.681 และร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต เท่ากับ ร้อยละ 66.81

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(25) ตัวชี้วัดที่ 10 (ตัวชี้วัดเจรจา 6) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ตัวชี้วัดที่ 10 (ตัวชี้วัดเจรจา 6) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :66.81


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
66.81

0 / 0
4
66.81

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. โรงเรียนเตรียมนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 13 โรงเรียน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 4 โรงเรียน (โรงเรียนบ้านเกาะ โรงเรียนวัดทองสัมฤทธิ์ โรงเรียนวัดใหม่ลำนกแขวก และโรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน) สอบ O-NET 2. จัดทำโครงการสนับสนุนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยดำเนินโครงการทั้ง 22 โครงการ ที่สนับสนุนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และอีก 1 โครงการ คือ โครงการเพิ่มศักยภาพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร งบประมาณ 256,200 บาท โดยสอนเสริม O-NET ใน 4 วิชา คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกวันเสาร์ เริ่มสอนตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2562 - มกราคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตมีนบุรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 13 โรงเรียน และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 4 โรงเรียน (โรงเรียนบ้านเกาะ โรงเรียนวัดทองสัมฤทธิ์ โรงเรียนวัดใหม่ลำนกแขวก และโรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน) ดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เรียบร้อยแล้ว โดยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สอบวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ในสนามสอบจำนวน 2 แห่ง คือ โรงเรียนในเครือข่ายที่ 33 สอบที่สนามสอบโรงเรียนวัดบำเพ็ญเหนือ และโรงเรียนในเครือข่ายที่ 34 สอบที่สนามสอบโรงเรียนวัดแสนสุข และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอบวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 สอบที่สนามสอบโรงเรียนสุเหร่าทรายองดิน 2. อยู่ระหว่างรอผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 จากสำนักการศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. สำนักการศึกษาส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ดังนี้ 1.1 ผลคะแนนเฉลี่ย ชั้น ป.6 - ภาษาไทย ได้คะแนน 50.71 - คณิตศาสตร์ ได้คะแนน 32.59 - วิทยาศาสตร์ ได้คะแนน 36.32 - ภาษาอังกฤษ ได้คะแนน 33.49 1.2 ผลคะแนนเฉลี่ย ชั้น ม.3 - ภาษาไทย ได้คะแนน 49.41 - คณิตศาสตร์ ได้คะแนน 21.02 - วิทยาศาสตร์ ได้คะแนน 28.67 - ภาษาอังกฤษ ได้คะแนน 28.89 2. คะแนนตัวชี้วัดบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ 2563 "ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด" เป้าหมาย ร้อยละ 100 สำนักงานเขตมีนบุรีได้คะแนน ดังนี้ 2.1 คะแนนรวมระดับชั้น ป.6 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ได้ 6.85 คะแนน 2.2 คะแนนรวมระดับชั้น ม.3 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ได้ 6.51 คะแนน 2.3 คะแนนรวมทุกระดับชั้น เท่ากับ 13.36 คะแนน ดังนั้น คะแนนสำนักงานเขต เท่ากับ 6.681 และร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต เท่ากับ ร้อยละ 66.81

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. สำนักการศึกษาส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ดังนี้ 1.1 ผลคะแนนเฉลี่ย ชั้น ป.6 - ภาษาไทย ได้คะแนน 50.71 - คณิตศาสตร์ ได้คะแนน 32.59 - วิทยาศาสตร์ ได้คะแนน 36.32 - ภาษาอังกฤษ ได้คะแนน 33.49 1.2 ผลคะแนนเฉลี่ย ชั้น ม.3 - ภาษาไทย ได้คะแนน 49.41 - คณิตศาสตร์ ได้คะแนน 21.02 - วิทยาศาสตร์ ได้คะแนน 28.67 - ภาษาอังกฤษ ได้คะแนน 28.89 2. คะแนนตัวชี้วัดบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ 2563 "ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด" เป้าหมาย ร้อยละ 100 สำนักงานเขตมีนบุรีได้คะแนน ดังนี้ 2.1 คะแนนรวมระดับชั้น ป.6 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ได้ 6.85 คะแนน 2.2 คะแนนรวมระดับชั้น ม.3 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ได้ 6.51 คะแนน 2.3 คะแนนรวมทุกระดับชั้น เท่ากับ 13.36 คะแนน ดังนั้น คะแนนสำนักงานเขต เท่ากับ 6.681 และร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต เท่ากับ ร้อยละ 66.81

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม

(26) ตัวชี้วัดที่ 11 จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญ
[มิติที่ 1 : ]

๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ
ตัวชี้วัดที่ 11 จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญ

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :3.00

ผลงาน :3.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.00

100 / 100
2
3.00

100 / 100
3
3.00

0 / 0
4
3.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เด็ก เยาวชน ประชาชน นักท่องเที่ยว ผู้สนใจ ทั้งบุคคลและหมู่คณะต่างๆ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นฯ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – ธันวาคม 2562 ยอดรวม คน ดังนี้ - ตุลาคม 2562 รวม 186 คน - พฤศจิกายน 2562 รวม 79 คน 2. ดำเนินกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญเสร็จสิ้นแล้ว 3 กิจกรรม ได้แก่ 2.1 กิจกรรมที่ 1 การจัดงานตักบาตรเทโวโรหณะ เนื่องในเทศกาลวันออกพรรษา ประจำปี 2562 ในวันที่ 14 ต.ค. 62 ณ วัดแสนสุข 2.2 กิจกรรมที่ 2 การจัดงานพิธีบวงสรวงถวายราชสดุดีและวางพวงมาลา เนื่องในวันปิยมหาราช ประจำปี 2562 ในวันที่ 23 ต.ค. 62 ณ สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 2.3 กิจกรรมที่ 3 การจัดงานประเพณีลอยกระทง ในวันที่ 11 พ.ย. 62 ณ วัดแสนสุข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เด็ก เยาวชน ประชาชน นักท่องเที่ยว ผู้สนใจ ทั้งบุคคลและหมู่คณะต่างๆ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นฯ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – ธันวาคม 2562 ยอดรวม 643 คน ดังนี้ - ตุลาคม 2562 รวม 186 คน - พฤศจิกายน 2562 รวม 79 คน - ธันวาคม 2562 รวม 107 คน - มกราคม 2563 รวม 91 คน - กุมภาพันธ์ 2563 รวม 180 คน 2. ดำเนินกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญเสร็จสิ้นแล้ว 3 กิจกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เด็ก เยาวชน ประชาชน นักท่องเที่ยว ผู้สนใจ ทั้งบุคคลและหมู่คณะต่างๆ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นฯ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – มีนาคม 2563 ยอดรวม 651 คน ดังนี้ - ตุลาคม 2562 รวม 186 คน - พฤศจิกายน 2562 รวม 79 คน - ธันวาคม 2562 รวม 107 คน - มกราคม 2563 รวม 91 คน - กุมภาพันธ์ 2563 รวม 180 คน - มีนาคม 2563 รวม 8 คน 2. ประกาศปิดให้บริการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตมีนบุรี ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม - 31 พฤษภาคม 2563 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 พร้อมทั้งประกาศให้อาสาสมัครพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตมีนบุรีหยุดปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2563 - 31 พฤษภาคม 2563 3. ดำเนินกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญเสร็จสิ้นแล้ว 3 กิจกรรม ได้แก่ 3.1 กิจกรรมที่ 1 การจัดงานตักบาตรเทโวโรหณะ เนื่องในเทศกาลวันออกพรรษา ประจำปี 2562 ในวันที่ 14 ต.ค. 62 ณ วัดแสนสุข 3.2 กิจกรรมที่ 2 การจัดงานพิธีบวงสรวงถวายราชสดุดีและวางพวงมาลา เนื่องในวันปิยมหาราช ประจำปี 2562 ในวันที่ 23 ต.ค. 62 ณ สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 3.3 กิจกรรมที่ 3 การจัดงานประเพณีลอยกระทง ในวันที่ 11 พ.ย. 62 ณ วัดแสนสุข 4. งดการจัดงานกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญ 3 กิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 4.1 กิจกรรมที่ 4 การจัดงานสืบสานตำนานสงกรานต์เมืองมีน 4.2 กิจกรรรมที่ 5 การจัดงานวันรอมฎอนสัมพันธ์ 4.3 อยู่ระหว่างพิจารณาการจัดงานกิจกรรมที่ 6 การจัดงานหล่อและแห่เทียนพรรษา เนื่องในเทศกาลวันเข้าพรรษา 4.4 กิจกรรมพิเศษ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เด็ก เยาวชน ประชาชน นักท่องเที่ยว ผู้สนใจ ทั้งบุคคลและหมู่คณะต่างๆ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นฯ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – สิงหาคม 2563 ยอดรวม 920 คน ดังนี้ - ตุลาคม 2562 รวม 186 คน - พฤศจิกายน 2562 รวม 79 คน - ธันวาคม 2562 รวม 107 คน - มกราคม 2563 รวม 91 คน - กุมภาพันธ์ 2563 รวม 180 คน - มีนาคม 2563 รวม 8 คน - กรกรฎาคม 2563 รวม 197 คน - สิงหาคม 2563 รวม 72 คน - กันยายน 2563 รวม ... คน 2. ประกาศปิดให้บริการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตมีนบุรี ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม - 31 พฤษภาคม 2563 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 พร้อมทั้งประกาศให้อาสาสมัครพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตมีนบุรีหยุดปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2563 - 31 พฤษภาคม 2563 3. ดำเนินกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญเสร็จสิ้นแล้ว 3 กิจกรรม ได้แก่ 3.1 กิจกรรมที่ 1 การจัดงานตักบาตรเทโวโรหณะ เนื่องในเทศกาลวันออกพรรษา ประจำปี 2562 ในวันที่ 14 ต.ค. 62 ณ วัดแสนสุข 3.2 กิจกรรมที่ 2 การจัดงานพิธีบวงสรวงถวายราชสดุดีและวางพวงมาลา เนื่องในวันปิยมหาราช ประจำปี 2562 ในวันที่ 23 ต.ค. 62 ณ สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 3.3 กิจกรรมที่ 3 การจัดงานประเพณีลอยกระทง ในวันที่ 11 พ.ย. 62 ณ วัดแสนสุข 4. งดการจัดงานกิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี และวันสำคัญ 4 กิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 4.1 กิจกรรมที่ 4 การจัดงานสืบสานตำนานสงกรานต์เมืองมีน (ตามหนังสือที่ กท 5210/270 ลว. 31 มี.ค. 63) 4.2 กิจกรรรมที่ 5 การจัดงานวันรอมฎอนสัมพันธ์ (ตามหนังสือที่ กท 5210/270 ลว. 31 มี.ค. 63) 4.3 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมที่ 6 การจัดงานหล่อและแห่เทียนพรรษา เนื่องในเทศกาลวันเข้าพรรษา (ตามหนังสือที่ กท 5210/416 ลว. 23 มิ.ย. 63) 4.4 กิจกรรมพิเศษ (ตามหนังสือที่ กท 5210/444 ลว. 4 ก.ค. 63)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๔.๑ - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม

(27) ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
[มิติที่ 1 : ]

๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ
ตัวชี้วัดที่ 12   ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการออกเลขหมายประจำบ้านให้กับเจ้าของอาคารที่มายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน พร้อมลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารได้ครบทุกหลัง ดังนี้ 1. เดือนตุลาคม 2562 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 27 ราย (จำนวนบ้าน 112 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 27 ราย จำนวนบ้าน 112 หลัง 2. เดือนพฤศจิกายน 2562 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 32 ราย (จำนวน 51 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 32 ราย จำนวน 51 หลัง 3. เดือนธันวาคม 2562 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 18 ราย จำนวนบ้าน 21 หลัง และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 18 ราย จำนวนบ้าน 21 หลัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการออกเลขหมายประจำบ้านให้กับเจ้าของอาคารที่มายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน พร้อมลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารได้ครบทุกหลัง ดังนี้ 1.เดือนมกราคม 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 19 ราย (จำนวน 91 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 19 ราย (จำนวน 91 หลัง 2. เดือนกุมภาพันธ์ 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 29 ราย (จำนวน 29 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 29 ราย (จำนวน 29 หลัง) 3. เดือนมีนาคม 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 27 ราย (จำนวน 62 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 27 ราย ( จำนวน 62 หลัง) ตั้งแต่วันที่ 1 - 25 มีนาคม 2563 4. ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตก่อสร้างอาคารรายละเอียดดังนี้ เดือนมกราคม 2563 มีการอนุญาต จำนวน 19 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 19 ราย เดือนกุมภาพันธ์ 2563 มีการอนุญาต จำนวน 33 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 33 ราย เดือนมีนาคม 2563 มีการอนุญาต จำนวน 36 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 36 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายโยธา ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตก่อสร้างอาคาร รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนเมษายน 2563 มีการอนุญาต จำนวน 23 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 23 ราย 2. เดือนพฤษภาคม 2563 มีการอนุญาต จำนวน 16 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 16 ราย 3. เดือนมิถุนายน 2563 มีการอนุญาต จำนวน 41 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 41 ราย ฝ่ายทะเบียน ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนเมษายน 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 17 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 17 ราย (จำนวนบ้าน 19 หลัง 2. เดือนพฤษภาคม 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 22 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 22 ราย (จำนวนบ้าน 23 หลัง) 3. เดือนมิถุนายน 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 28 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 28 ราย (จำนวนบ้าน 80 หลัง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ฝ่ายโยธา ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่อนุญาตก่อสร้างอาคาร รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนกรกฎาคม 2563 มีการอนุญาต จำนวน 38 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 38 ราย 2. เดือนสิงหาคม 2563 มีการอนุญาต จำนวน 27 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 27 ราย 3. เดือนกันยายน 2563 มีการอนุญาต จำนวน 31 ราย และลงจุดแสดงตำแหน่ง จำนวน 31 ราย ฝ่ายทะเบียน ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน รายละเอียด ดังนี้ 1. เดือนกรกฎาคม 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 18 ราย (จำนวนบ้าน 20 หลัง และลงจุดแสดงตำแหน่งอ าคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 18 ราย (จำนวนบ้าน 20 หลัง) 2. เดือนสิงหาคม 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 34 ราย (จำนวน 36 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 34 ราย (จำนวนบ้าน 36 หลัง) 3. เดือนกันยายน 2563 เจ้าของอาคารมายื่นคำขอเลขหมายประจำบ้าน จำนวน 24 ราย (จำนวน 26 หลัง) และลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน จำนวน 24 ราย (จำนวนบ้าน 26 หลัง)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล

(28) ตัวชี้วัดที่ 13 จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ของสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี
[มิติที่ 1 : ]

๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง
ตัวชี้วัดที่ 13 จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ของสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :4.00

ผลงาน :8.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
3.00

100 / 100
3
4.00

0 / 0
4
8.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. แต่งตั้งอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 1 ราย 2. นำคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรีเข้าร่วมประชุมและร่วมกิจกรรมตามที่สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวกำหนด 2.1 นำประธานสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมคณะบริหารฯ สภาเด็กและเยาวชน กทม. ครั้งที่ 1/2563 ในวันที่ 15 ธ.ค. 62 ณ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร ไทย-ญี่ปุ่น (ดินแดง) 3. การประชุมคณะกรรมการสภาเยาวชนเขตมีนบุรี 3.1 จัดประชุมสามัญประจำปี 2562 สภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี ในวันที่ 9 พ.ย. 62 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง เพื่อแจ้งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 และสนับสนุนให้มีการเลือกตั้งคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน ทดแทนตำแหน่งที่หมดวาระ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. แต่งตั้งอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 1 ราย 2. นำคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรีเข้าร่วมประชุมและร่วมกิจกรรมตามที่สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวกำหนด 2.1 นำประธานสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมคณะบริหารฯ สภาเด็กและเยาวชน กทม. ครั้งที่ 1/2563 ในวันที่ 15 ธ.ค. 62 ณ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร ไทย-ญี่ปุ่น (ดินแดง) 3. การประชุมคณะกรรมการสภาเยาวชนเขตมีนบุรี 3.1 จัดประชุมสามัญประจำปี 2562 สภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี ในวันที่ 9 พ.ย. 62 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง เพื่อแจ้งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 และสนับสนุนให้มีการเลือกตั้งคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน ทดแทนตำแหน่งที่หมดวาระ 3.2 จัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนครั้งที่ 1/2563 ในวันที่ 6 ก.พ. 63 เพื่อหารือแนวทางการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน 4. กิจกรรมสร้างสรรค์ของสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี 4.1 วันที่ 15 มี.ค. 63 สมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว โดยปลูกต้นทองอุไร 30 ต้น ร่วมกับคณะกรรมการชุมชนนูรุ้ลอิสลาม (คลองสี่วังเล็ก) ณ บริเวณข้างมัสยิดอัลบุ๊ซรอ ซ.สุวินทวงศ์ 28

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1. แต่งตั้งอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 1 ราย 2. นำคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรีเข้าร่วมประชุมและร่วมกิจกรรมตามที่สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวกำหนด 2.1 นำประธานสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมคณะบริหารฯ สภาเด็กและเยาวชน กทม. ครั้งที่ 1/2563 ในวันที่ 15 ธ.ค. 62 ณ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร ไทย-ญี่ปุ่น (ดินแดง) 3. การประชุมคณะกรรมการสภาเยาวชนเขตมีนบุรี 3.1 จัดประชุมสามัญประจำปี 2562 สภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี ในวันที่ 9 พ.ย. 62 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง เพื่อแจ้งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 และสนับสนุนให้มีการเลือกตั้งคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน ทดแทนตำแหน่งที่หมดวาระ 3.2 จัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนครั้งที่ 1/2563 ในวันที่ 6 ก.พ. 63 เพื่อหารือแนวทางการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน 3.3 จัดการประชุมสภาเด็กและเยาวชนฯ ร่วมกับชมรม To Be Number One ชุมชนนูรุ้ลอิสลาม (คลองสี่วังเล็ก) และชมรม To Be Number One ชุมชนหมู่บ้านเค.ซี.ร่มเกล้า ในวันที่ 11 มิ.ย. 63 เพื่อแจ้งกำหนดการประกวดชมรม To Be Number One ในชุมชนกรุงเทพมหานคร และแนะนำวางแผนการดำเนินงานของชมรม 4. กิจกรรมสร้างสรรค์ของสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี 4.1 วันที่ 15 มี.ค. 63 สมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว โดยปลูกต้นทองอุไร 30 ต้น ร่วมกับคณะกรรมการชุมชนนูรุ้ลอิสลาม (คลองสี่วังเล็ก) ณ บริเวณข้างมัสยิดอัลบุ๊ซรอ ซ.สุวินทวงศ์ 28

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. แต่งตั้งอาสาสมัครช่วยปฏิบัติงานสภาเด็กและเยาวชนเขต จำนวน 1 ราย 2. นำคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรีเข้าร่วมประชุมและร่วมกิจกรรมตามที่สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวกำหนด 2.1 นำประธานสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมคณะบริหารฯ สภาเด็กและเยาวชน กทม. ครั้งที่ 1/2563 ในวันที่ 15 ธ.ค. 62 ณ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร ไทย-ญี่ปุ่น (ดินแดง) 2.2 เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (DJ Teen) ในวันที่ 22 ส.ค. 63 2.3 นำเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมการแสดงผลงานเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2563 (ถนนเด็กเดิน) ในวันที่ 19 ก.ย. 63 ณ อาคารกีฬาเวสน์ 2 3. การประชุมคณะกรรมการสภาเยาวชนเขตมีนบุรี จำนวน 5 ครั้ง 3.1 จัดประชุมสามัญประจำปี 2562 สภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี ในวันที่ 9 พ.ย. 62 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง เพื่อแจ้งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2562 และสนับสนุนให้มีการเลือกตั้งคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน ทดแทนตำแหน่งที่หมดวาระ 3.2 จัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนครั้งที่ 1/2563 ในวันที่ 6 ก.พ. 63 เพื่อหารือแนวทางการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน 3.3 จัดการประชุมสภาเด็กและเยาวชนฯ ร่วมกับชมรม To Be Number One ชุมชนนูรุ้ลอิสลาม (คลองสี่วังเล็ก) และชมรม To Be Number One ชุมชนหมู่บ้านเค.ซี.ร่มเกล้า ในวันที่ 11 มิ.ย. 63 เพื่อแจ้งกำหนดการประกวดชมรม To Be Number One ในชุมชนกรุงเทพมหานคร และแนะนำวางแผนการดำเนินงานของชมรม 3.4 จัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนครั้งที่ 2/2563 ในวันที่ 2 ก.ค. 63 เพื่อพิจารณาโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกรมกิจการเด็กและเยาวชน 3.5 จัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนครั้งที่ 3/2563 ในวันที่ 20 ส.ค. 63 เพื่อร่วมกันจัดตั้งเพจ สภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี และการเตรียมประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2563 เพื่อเลือกตั้งคณะบริหารชุดใหม่ ทดแทนที่จะหมดวาระในวันที่ 22 กันยายน 2563 4. กิจกรรมสร้างสรรค์ของสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี 4.1 วันที่ 8 มี.ค. 63 สมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว โดยปลูกต้นทองอุไร 25 ต้น ร่วมกับคณะกรรมการชุมชน นูรุ้ลอิสลาม (คลองสี่วังเล็ก) ณ บริเวณข้างมัสยิดอัลบุ๊ซรอ ซ.สุวินทวงศ์ 28 5. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมศักยภาพสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี งบประมาณ 30,000 บาท จำนวน 2 กิจกรรม ได้แก่ 5.1 วันที่ 19 ก.ย. 63 กิจกรรมอบรมเยาวชน เพื่อพัฒนาชมรม To Be ณ โรงเรียนวังเล็กวิทยานุสรณ์ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กและเยาวชน 60 คน เจ้าหน้าที่ 10 คน รวม 70 คน 5.2 วันที่ 26 ก.ย. 63 กิจกรรมศึกษาดูงานสภาเด็กและเยาวชนเขตประเวศ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กและเยาวชน 25 คน เจ้าหน้าที่ 5 คน รวม 30 คน 6. งดการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเยาวชน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๖.๑ - เมืองแห่งโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน

(29) ตัวชี้วัดที่ 14 (ตัวชี้วัดเจรจา 10) จำนวนการปลูกไม้ยืนต้นในพื้นที่เขตที่ได้รับการพัฒนาจากกิจกรรมของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
ตัวชี้วัดที่ 14 (ตัวชี้วัดเจรจา 10) จำนวนการปลูกไม้ยืนต้นในพื้นที่เขตที่ได้รับการพัฒนาจากกิจกรรมของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร

หน่วยนับ :ต้น

เป้าหมาย :75.00

ผลงาน :160.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ต้น)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
60.00

100 / 100
3
60.00

0 / 0
4
160.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดกิจกรรมการอบรม ถ่ายทอดความรู้ สาธิต ด้านการบำรุง ดูแล การปลูกไม้ยืนต้นครั้งที่ 1 ในวันที่ 25 ธ.ค. 62 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เกษตรกร ข้าราชการ ลูกจ้าง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดกิจกรรมการอบรม ถ่ายทอดความรู้ สาธิต ด้านการบำรุง ดูแล การปลูกไม้ยืนต้น จำนวน 2 ครั้ง 1.1 ในวันที่ 25 ธ.ค. 62 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ประชาชนทั่วไป, ผู้แทนหน่วยงานในพื้นที่เขตมีนบุรี (ไฟฟ้า ประปา ตำรวจ ดับเพลิง ศูนย์บริการสาธารณสุขฯ และสัสดี), ผู้แทนจากทุกฝ่ายของสำนักงานเขตมีนบุรี, ข้าราชการ ลูกจ้าง ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ 1.2 ในวันที่ 26 ก.พ. 63 ณ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรประจำแขวงมีนบุรี กลุ่มเป้าหมายได้แก่ เกษตรกร (คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ) 2. จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ รวมจำนวน 60 ต้น โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 สนับสนุนกิจกรรมการปลูกต้นไม้ ในวันที่ 15 มี.ค. 63 คณะกรรมการชุมชนนูรุ้ลอิสลาม (คลองสี่วังเล็ก) ร่วมกับสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว โดยปลูกต้นทองอุไร 30 ต้น ณ บริเวณข้างมัสยิดอัลบุ๊ซรอ ซ.สุวินทวงศ์ 28 2.2 ในวันที่ 24 มี.ค. 63 ร่วมมือกับกรรมการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรฯ สำนักงานเกษตรพื้นที่ 1 คณะกรรมการชุมชนมีนบุรีอุปถัมภ์ และอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กชุมชนมีนบุรีอุปถัมภ์ จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้กิจกรรมปลูกต้นทองอุไร จำนวน 30 ต้น ณ บริเวณลานอเนกประสงค์ชุมชนมีนบุรีอุปถัมภ์ แขวงมีนบุรี 3. จัดการประชุมคณะกรรมการศูนย์ถ่ายทอดฯ 3.1 ครั้งที่ 1/2563 (ครั้งที่ 1) ในวันที่ 26 ก.พ. 63 ณ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรประจำแขวงมีนบุรี 3.2 ครั้งที่ 2/2563 (ครั้งที่ 2) ในวันที่ 24 มี.ค. 63 ณ ลานกีฬาชุมชนมีนบุรีอุปถัมภ์ 4. จัดซื้อวัสดุเกษตรและวัสดุสำนักงานเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดกิจกรรมการอบรม ถ่ายทอดความรู้ สาธิต ด้านการบำรุง ดูแล การปลูกไม้ยืนต้น จำนวน 2 ครั้ง 2. จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ รวมจำนวน 60 ต้น 3. จัดการประชุมคณะกรรมการศูนย์ถ่ายทอดฯ 4. จัดซื้อวัสดุเกษตรและวัสดุสำนักงานเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดกิจกรรมการอบรม ถ่ายทอดความรู้ สาธิต ด้านการบำรุง ดูแล การปลูกไม้ยืนต้น จำนวน 2 ครั้ง 1.1 ในวันที่ 25 ธันวาคม 2562 ณ ศาลาประชาคมเมืองมีนถิ่นทอง กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ประชาชนทั่วไป, ผู้แทนหน่วยงานในพื้นที่เขตมีนบุรี (ไฟฟ้า ประปา ตำรวจ ดับเพลิง ศูนย์บริการสาธารณสุขฯ และสัสดี), ผู้แทนจากทุกฝ่ายของสำนักงานเขตมีนบุรี, ข้าราชการ ลูกจ้าง ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ 1.2 ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรประจำแขวงมีนบุรี กลุ่มเป้าหมายได้แก่ เกษตรกร (คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ) 2. จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ รวมจำนวน 160 ต้น โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 สนับสนุนกิจกรรมการปลูกต้นไม้ ในวันที่ 8 มีนาคม 2563 คณะกรรมการชุมชนนูรุ้ลอิสลาม (คลองสี่วังเล็ก) ร่วมกับสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขตมีนบุรี เข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว โดยปลูกต้นทองอุไร 30 ต้น ณ บริเวณข้างมัสยิดอัลบุ๊ซรอ ซ.สุวินทวงศ์ 28 2.2 ในวันที่ 24 มีนาคม 2563 ร่วมมือกับกรรมการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรฯ สำนักงานเกษตรพื้นที่ 1 คณะกรรมการชุมชนมีนบุรีอุปถัมภ์ และอาสาสมัครผู้ดูแลเด็กชุมชนมีนบุรีอุปถัมภ์ จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้กิจกรรมปลูกต้นทองอุไร จำนวน 30 ต้น ณ บริเวณลานอเนกประสงค์ชุมชนมีนบุรีอุปถัมภ์ แขวงมีนบุรี 2.3 วันที่ 20 สิงหาคม 2563 ร่วมกับกรรมการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรฯ สำนักงานเกษตรพื้นที่ 1 คณะกรรมการชุมชนในพื้นที่เขตมีนบุรี และสมาชิกกองทุนแม่ของแผ่นดินเขตมีนบุรี จัดกิจกรรมเพิ่มพื้นที่ร่มเงา พื้นที่สีเขียว สร้างความร่มรื่นให้แก่พื้นที่เขต ด้วยการปลูกต้นทองอุไร จำนวน 100 ต้น ณ บริเวณริมคลองแยกคลองลำหิน (ด้านหน้าศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรฯ) แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี 3. จัดการประชุมคณะกรรมการศูนย์ถ่ายทอดฯ 3.1 ครั้งที่ 1/2563 (ครั้งที่ 1) ในวันที่ 26 ก.พ. 63 ณ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรประจำแขวงมีนบุรี 3.2 ครั้งที่ 2/2563 (ครั้งที่ 2) ในวันที่ 24 มี.ค. 63 ณ ลานกีฬาชุมชนมีนบุรีอุปถัมภ์ 3.3 ครั้งที่ 3/2563 (ครั้งที่ 3) ในวันที่ 29 มิ.ย. 63 ณ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรประจำแขวงมีนบุรี 3.4 ครั้งที่ 4/2563 (ครั้งที่ 4) ในวันที่ 21 ก.ค. 63 ณ มัสยิดเราะห์มาตุ้ลอิสลามียะห์ (บ้านเกาะ) 3.5 ครั้งที่ 5/2563 (ครั้งที่ 5) ในวันที่ 20 ส.ค. 63 ณ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรประจำแขวงมีนบุรี 3.6 ครั้งที่ 6/2563 (ครั้งที่ 6) ในวันที่ 28 ส.ค. 63 ณ บ้านเกษตรกรเลี้ยงจิ้งหรีด ชุมชนอันนูรอยน์ฯ 4. จัดซื้อวัสดุเกษตรและวัสดุสำนักงานเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๔ - การคลังและงบประมาณ

(30) ตัวชี้วัด 15 (ตัวชี้วัดเจรจา 7) ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้ 7.1 ร้อยละของความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี 7.2. ร้อยละของการบังคับภาษี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
ตัวชี้วัด 15 (ตัวชี้วัดเจรจา 7) ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้
7.1 ร้อยละของความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี
7.2. ร้อยละของการบังคับภาษี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการและดำเนินการตามแผนตั้งแต่ 1 ต.ค.-20 ธ.ค.62 ดังนี้ 1.สำรวจรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จำนวน 26,033 ราย 2.สำรวจรายการอาคารชุด จำนวน 10,272 ราย 3.ประกาศรายการอาคารชุด (ภ.ด.ส.4) จำนวน 9,278 ราย 4.ประกาศที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.3) จำนวน 1,998 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการสำรวจและจัดเก็บข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตั้งแต่ 1 ต.ค.62-24 มี.ค.63 ดังนี้ -.สำรวจข้อมูลที่ดิน(แปลง) จำนวน 60,938 แปลง สำรวจแล้ว 60,938 แปลง -จัดเก็บข้อมูลที่ดินในระบบ 39,610 แปลง คิดเป็นร้อยละ 60 ของการสำรวจข้อมูลที่ดิน -สำรวจบ้าน(หลัง จำนวน 50,452 หลัง สำรวจแล้ว 50,452 หลัง -จัดเก็บข้อมูลบ้านในระบบ จำนวน 30,273 หลังคิดเป็นร้อยละ 60 ของการสำรวจจำนวนบ้าน -สำรวจอาคารชุด(ห้อง) สำรวจแล้ว 10,272 ห้อง -จัดเก็บข้อมูลอาคารชุดในระบบ 9,278 ห้อง คิดเป็น 90.32 ของการสำรวจอาคารชุด หมายเหตุ เนื่องจากส่วนกลางได้มีการขยายกำหนดระยะเวลาการแจ้งประเมินภาษีจาก ภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 เป็นภายในเดือนมิถุนายน 2563 ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ 0808.3/ว7475 ลงวันที่ 11 ธันวาคม 2562 เรื่อง การขยายกำหนดเวลาดำเนินการ ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--ดำเนินการสำรวจและจัดเก็บข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตั้งแต่ 1 ต.ค.62-24 มิ.ย.63 ดังนี้ 1.สำรวจข้อมูลที่ดิน(แปลง) จำนวน 61,662 แปลง สำรวจแล้ว 61,662 แปลง คิดเป็นร้อยละ 100 จัดเก็บข้อมูลที่ดินในระบบ 40,028 แปลง คิดเป็นร้อยละ 64.92 ของการสำรวจข้อมูลที่ดิน 2.สำรวจบ้าน(หลัง จำนวน 51,694 หลัง สำรวจแล้ว 51,694 หลัง คิดเป็นร้อยละ 100 -จัดเก็บข้อมูลบ้านในระบบ จำนวน 25,142 หลังคิดเป็นร้อยละ 48.64 ของการสำรวจจำนวนบ้าน 3.แจ้งข้อมูลรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.3) ให้เจ้าของทรัพย์สินทราบ จำนวน 39,530 ราย 4.สำรวจอาคารชุด(ห้อง) สำรวจแล้ว 9,278 ห้อง -จัดเก็บข้อมูลอาคารชุดในระบบ 9,278 ห้อง คิดเป็น 100 ของการสำรวจอาคารชุด แจ้งข้อมูลรายการห้องชุด (ภ.ด.ส.4) ให้เจ้าของทรัพย์สินทราบ จำนวน 9,278 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 หมายเหตุ เนื่องจากส่วนกลางได้มีการขยายกำหนดเวลาการแจ้งประเมินภาษีจากภายในเดือนมิถุนายน 2563 เป็นภายในเดือนกรกฎาคม 2563 ตามหนังสือด่วนที่สุดสำนักการคลัง ที่ กท 1302/2938 ลงวันที่ 15 มิถุนายน 2563 เรื่อง ขอขยายกำหนดเวลาดำเนินการตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการสำรวจและจัดเก็บข้อมูลที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่เขตมีนบุรี ตั้งแต่ 1 ต.ค.2562- 25ก.ย.2563 ดังนี้ 1.รายการที่ดินทั้งหมด 61,662 แปลง - ดำเนินการสำรวจแล้ว 61,662 แปลง คิดเป็นร้อยละ 100 ของรายการที่ดินทั้งหมด - จัดเก็บข้อมูลลงระบบแล้ว จำนวน 42,697 แปลง คิดเป็นร้อยละ 69.24 ของรายการที่ดินทั้งหมด - แจ้งประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.6) จำนวน 26,521 แปลง คิดเป็น ร้อยละ 100 ของจำนวนแปลงที่สำรวจและมีค่าภาษี 2.รายการสิ่งปลูกสร้าง ทั้งหมด 51,694 หลัง - ดำเนินการสำรวจแล้ว 51,694 หลัง คิดเป็นร้อยละ 100 ของรายการสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด -จัดเก็บข้อมูลในระบบแล้ว 25,142 หลัง คิดเป็นร้อยละ 48.64 ของรายการสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด - แจ้งประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.6) จำนวน 13,607 หลัง คิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนหลังที่สำรวจและมีค่าภาษี 3.รายการอาคารชุดทั้งหมด 9,278 ห้อง - ดำเนินการสำรวจแล้ว 9,278 ห้อง คิดเป็นร้อยละ 100 ของรายการอาคารชุดทั้งหมด -จัดเก็บข้อมูลแล้ว 9,278 ห้อง คิดเป็นร้อยละ 100 ของรายการอาคารชุดทั้งหมด -แจ้งข้อมูลรายการห้องชุด (ภ.ด.ส.4) ให้เจ้าของทรัพย์สินทราบแล้ว จำนวน 9,278 ห้อง คิดเป็นร้อยละ100 ของรายการอาคารชุดทั้งหมด - แจ้งประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.6) จำนวน 6,186 หลัง คิดเป็น ร้อยละ 100 ของจำนวนห้องที่สำรวจและที่มีค่าภาษี

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ

(31) ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล
[มิติที่ 1 : ]

๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
40.00

100 / 100
3
80.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.ประชุมทบทวนข้อมูลที่มีในปัจจุบันของแต่ละฝ่ายที่จะนำมาพัฒนาฐานข้อมูล 2.นำข้อมูลแต่ละฝ่ายมาพิจารณาความสำคัญและคัดเลือกข้อมูลที่จะดำเนินการซึ่งได้แก่ข้อมูลสถานประกอบการอาหาร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการสำรวจข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลักมาจัดลำดับความสำคัญและจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดเตรียมข้อมูลเพื่อนำเข้าระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานคร 2.ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและนำเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ในระบบบันทึกฐานข้อมูลตามบัญชีรายการข้อมูลเชิงพื้นที่ ในเดือนพฤษภาคม 2563 และ นำเข้าข้อมูลประจำเดือนมิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและนำเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ในระบบบันทึกฐานข้อมูลตามบัญชีรายการข้อมูลเชิงพื้นที่และนำเข้าข้อมูลประจำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2563

** สรุปผลการดำเนินงาน **